ผลการทดลอง

            ผลของการวัดปริมาณออกซิเจนที่ผลิตได้ของพืชทั้ง 8ชนิดในเวลา 5ชั่วโมง (ตั้งแต่เวลา13.00-18.00 น.) แสดงดังตารางที่ 1-3

ตารางที่ 1      แสดงปริมาณก๊าซออกซิเจนเป็นลูกบาศก์เซนติเมตรที่พืชแต่ละชนิดผลิตได้ ในเวลา  5 ชั่วโมง ในชุดการทดลองที่ 1 (ความเข้มข้นของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0%)  

            

    พืชตัวอย่าง

 

            

                ปริมาณก๊าซออกซิเจนที่เกิดขึ้น (cm3)

   ซ้ำที่ 1

   ซ้ำที่ 2

    ซ้ำที่ 3

       เฉลี่ย

พืช C3 

1. ราชพฤกษ์

2. แสยก

3. อโศก

พืช C4

1. ข้าวฟ่าง

2. บานไม่รู้โรย

3. ผักโขม

4. มันสำปะหลัง

5. อ้อย

 

   0.30       

   1.90      

   0.50         

              

   0.20            

   0.10            

   0.30          

   0.30          

   0.20      

             

     0.20        

     1.40          

     0.10          

             

     0.30          

     0.50        

     0.20          

     0.00       

     0.30        

       

           

    0.20          

    1.85            

    0.00           

             

    0.20          

    0.20         

    0.20           

    0.20         

    0.20         

           

               

       0.23           

       1.72         

       0.20               

                          

       0.23               

       0.26        

       0.23             

       0.16           

       0.23       

          

หมายเหตุ  ก๊าซที่ผลิตได้เป็นก๊าซออกซิเจนทดสอบโดยนำก๊าซที่ได้ไปผ่านกับธูปติดไฟ แล้วธูปสว่าง

     ผลการทดลองจากตารางที่ 1 ใบพืช C3ในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0%    พบว่าใบแสยกผลิตก๊าซออกซิเจนได้มากที่สุดคือ 1.72 ลูกบาศก์เซนติเมตร  ราชพฤกษ์ผลิตได้รองลงมาคือ 0.23  ลูกบาศก์เซนติเมตรและอ_โศกผลิตได้เป็นที่ 3 คือ 0.2  ลูกบาศก์เซนติเมตร ส่วนใบพืช C4 ในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต  0%  พบว่าใบบานไม่รู้โรยสามารถผลิตก๊าซออกซิเจน ได้มากที่สุดคือ  0.26  ลูกบาศก์เซนติเมตร  รองลงมาคือข้าวฟ่าง  ผักโขมสวนและอ้อย ผลิตก๊าซออกซิเจนได้ปริมาณเท่ากันคือ 0.23 ลูกบาศก์เซนติเมตร  และมันสำปะหลังผลิต               ก๊าซออกซิเจนได้ 0.16 ลูกบาศก์เซนติเมตร     ตามลำดับ

ตารางที่ 2         แสดงปริมาณก๊าซออกซิเจนเป็นลูกบาศก์เซนติเมตรที่พืชแต่ละชนิดผลิตได้ในเวลา  5 ชั่วโมง ในชุดการทดลองที่ 2

           

     พืชตัวอย่าง

 

            

                ปริมาณก๊าซออกซิเจนที่เกิดขึ้น (cm3)

   ซ้ำที่ 1

   ซ้ำที่ 2

    ซ้ำที่ 3

       เฉลี่ย

พืช C3 

1. ราชพฤกษ์

2. แสยก

3. อโศก

พืช C4

1. ข้าวฟ่าง

2. บานไม่รู้โรย

3. ผักโขม

4. มันสำปะหลัง

5. อ้อย

                 

    0.30         

    1.30           

    0.40           

              

    0.50          

    0.75      

    0.40     

    1.00            

    0.70

                  

           

     0.30        

     2.50         

     0.40          

               

     0.60           

     1.35          

     0.60 

     0.50         

     0.60          

                  

              

               

     0.70        

     1.60          

     0.60        

              

     0.50          

     1.35         

     0.50          

     0.40           

     0.40          

                

               

                  

        0.43       

        1.80       

        0.46         

                

        0.53       

        1.15        

        0.50       

        0.63         

        0.56          

                  

                     

หมายเหตุ  ก๊าซที่ผลิตได้เป็นก๊าซออกซิเจนทดสอบโดยนำก๊าซที่ได้ไปผ่านกับธูปติดไฟ แล้วธูปสว่าง

        ผลการทดลองจากตารางที่ 2 ใบพืช  C3  ในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเข้มข้น   5%    พบว่าใบแสยกผลิตก๊าซออกซิเจน ได้มากที่สุดคือ 1.8 ลูกบาศก์เซนติเมตร อโศกผลิตได้รองลงมาคือ 0.46 ลูกบาศก์เซนติเมตร และแสยก_ผลิตได้เป็นที่ 3 คือ 0.43 ลูกบาศก์เซนติเมตร ส่วนใบพืช C4 ในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเข้มข้น 5% พบว่าใบบานไม่รู้โรยสามารถผลิตก๊าซออกซิเจน ได้มากที่สุดคือ 1.15 ลูกบาศก์เซนติเมตร รองลงมาคือมันสำปะหลัง ผลิตได้ 0.63 ลูกบาศก์เซนติเมตร อ้อย ข้าวฟ่างและผักโขมสวนผลิต ได้ดีใกล้เคียงกันคือ 0.56 ลูกบาศก์เซนติเมตร 0.53 ลูกบาศก์เซนติเมตรและ 0.5 ลูกบาศก์เซนติเมตรตามลำดับ

ตารางที่ 3              แสดงปริมาณก๊าซออกซิเจนเป็นลูกบาศก์เซนติเมตรที่พืชแต่ละชนิดผลิตได้ในเวลา 5 ชั่วโมง       ในชุดการทดลองที่ 1   (ความเข้มข้นของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 0 %)   ชุดการทดลองที่2 (ความเข้มข้นของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 5 %)

            

 

    พืชตัวอย่าง

 

           

                ปริมาณก๊าซออกซิเจนที่เกิดขึ้น (cm3)

               ชุดที่ 1

 

              ชุดที่ 2

   

พืช C3               

1. ราชพฤกษ์

2. แสยก

3. อโศก

พืช C4

1. ข้าวฟ่าง

2. บานไม่รู้โรย

3. ผักโขม

4. มันสำปะหลัง

5. อ้อย

 

                0.23   

                1.72

                0.20        

                 

                0.23          

                0.26             

                0.23                  

                0.16               

               0.23              

 

                0.43

                1.80

                0.46

                       

                0.53               

                1.15            

                0.50               

                0.63            

                0.56           

                      

 หมายเหตุ  ก๊าซที่ผลิตได้เป็นก๊าซออกซิเจนทดสอบโดยนำก๊าซที่ได้ไปผ่านกับธูปที่ติดไฟ แล้วธูปสว่าง

                ผลการทดลองจากตารางที่ 3      ใบพืชในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต  5%  สามารถผลิตก๊าซออกซิเจน ได้มากกว่าใบพืชในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต  0%