![]() |
![]() |
![]() รับประทานกันอยู่ทุกวัน ![]() อย่างไรก็ตามพบว่า คนทั่วไปได้รับเส้นใยอาหารจากแหล่งอาหารต่างๆ ดังกล่าว ![]() ต้องการของร่างกาย ในทางเคมีเราพบว่า เส้นใยอาหาร ![]() หนึ่ง ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อน และมีลักษณะที่แตกต่างกันอยู่ 2 ชนิดคือ 1. เส้นใยอาหารชนิดที่ละลายในน้ำได้ (Soluble Fiber) คือ เส้นใยอาหารส่วนที่มีคุณสมบัติในการ ละลายน้ำได้และสามารถดูดซับสารที่ละลายในน้ำไว้กับตัว เช่น น้ำตาลกลูโคส ฯลฯ 2. เส้นใยอาหารชนิดที่ไม่ละลายน้ำ (Insoluble Fiber) คือ เส้นใยอาหารส่วนที่ไม่ละลายน้ำ แต่จะ เกิดการพองตัวในน้ำลักษณะคล้ายฟองน้ำ ทำให้มีการเพิ่มปริมาตรของกระเพาะอาหารจึงทำให้รู้สึกอิ่ม และเพิ่มปริมาตรของอุจจาระที่ส่งผลทำให้รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ ลดปัญหาท้องผูกได้ |
![]() ![]() ![]() ![]() |
อย่างที่กล่าวข้างต้นว่าเนื่องจากการที่เส้นใยอาหารเป็นสารอาหารที่ไม่สามารถถูกย่อยได้ ด้วยน้ำย่อยในทางเดินอาหาร แต่สามารถพองตัวได้เมื่อมีน้ำจึงมีคุณสมบัติที่ทำให้เรารู้สึกอิ่ม เมื่อรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมนอกจากนั้นเส้นใยอาหารยังมีคุณสมบัติในการดูดซึม สารอาหารที่ละลายได้ในน้ำ ได้แก่ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() โมเลกุลเล็กๆ หรือ กรดไขมัน (Fatty Acids) ที่จะสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายของเราได้ และหลังจากที่เส้นใยอาหารดูดซับสารอาหารน้ำตาล และห่อหุ้มเอาสารอาหารจำพวก ไขมันไว้กับตัวแล้ว เส้นใยอาหารก็จะถูกขับออกไปจากร่างกาย โดยทางอุจจาระอย่างง่ายดาย เนื่องจากการที่เส้นใยอาหารมีการพองตัวทำให้ปริมาตรของอุจจาระเพิ่มขึ้น ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() |
![]() |