พระสาวก

 

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: หริภูญไชย (Haripoonchaya Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 18 - 19 (13rd - 14th Century)

ผิวสนิมเขียวหยก เป็นสนิมเขียว ซึ่งถือว่าหาได้ยากมากในปัจจุบัน

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน - ไชยปราการ (Lanna mixed with Chaiprakarn Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 18 - 19 (13rd - 14th Century)

จุดสังเกตุศิลปะไชยปราการ จาก หู และเข่าซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ดูโดยรวมแล้วไม่ได้มีความต่างจากศิลปะเชียงแสนมากเท่าไหร่

พระสาวกแบบ เชียงแสน-ไชยปราการ มักสร้างขึ้นมาในแบบคล้ายพระพุทธรูปปางสมาธิ เนื่องจากจะไม่มีเส้นรัดประคต ส่วนศิลปะเชียงแสน จะมีเส้นรัดประคตปรากฏที่กลางลำตัว ไม่ว่าจะเป็นแบบพนมมือหรือแบบนั่งสมาธิก็ตาม

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน - ไชยปราการ (Lanna mixed with Chaiprakarn Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 18 - 19 (13rd - 14th Century)

ผิวสนิมเขียวเปลือกแตงโม

จุดสังเกตุศิลปะไชยปราการ จาก หู และเข่าซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ดูโดยรวมแล้วไม่ได้มีความต่างจากศิลปะเชียงแสนมากเท่าไหร่

พระสาวกแบบ เชียงแสน-ไชยปราการ มักสร้างขึ้นมาในแบบคล้ายพระพุทธรูปปางสมาธิ เนื่องจากจะไม่มีเส้นรัดประคต ส่วนศิลปะเชียงแสน จะมีเส้นรัดประคตปรากฏที่กลางลำตัว ไม่ว่าจะเป็นแบบพนมมือหรือแบบนั่งสมาธิก็ตาม

จาก: www.antiquecity.net

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน (Lanna Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 20 - 21 (15th - 16th Century)

ผิวขัด พบรักทองเดิมๆ ปรากฏอยู่บ้าง

จาก: www.antiquecity.net

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: พม่า (Burmese style)

อายุ: ราวพุทธศตวรรษที่ 22 (17th Century)

ผิวสนิมเขียว นุ่งห่มคลุม แบบปกติ

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: พม่า (Burmese Style)

อายุ: ราวพุทธศตวรรษที่ 22 (17th Century)

ผิวสนิมเขียว

ตกแต่งด้วยเครื่องทรง เต็มองค์

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: พม่า แบบมันดาเลย์ (Burmese with Mandalay Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 23 (18th Century)

ผิวขัด จีวรพริ้วตามแบบของศิลปะในแขนงนี้

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน - ไชยปราการ (Lanna mixed with Chaiprakarn Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 18 - 19 (13rd - 14th Century)

ผิวสนิมเขียว ศิลปะแขนงนี้สังเกตุจากเข่า และลักษณะพระพักตร์

พระสาวกแบบ เชียงแสน-ไชยปราการ มักสร้างขึ้นมาในแบบคล้ายพระพุทธรูปปางสมาธิ เนื่องจากจะไม่มีเส้นรัดประคต ส่วนศิลปะเชียงแสน จะมีเส้นรัดประคตปรากฏที่กลางลำตัว ไม่ว่าจะเป็นแบบพนมมือหรือแบบนั่งสมาธิก็ตาม

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน (Lanna Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 18 - 19 (13rd - 14th Century)

ผิวสนิมเขียว ลักษณะการนั่งแตกต่างไปจากสาวกทั่วๆ ไป ซึ่งมักพบเห็นเป็นปางสมาธิ หรือไม่ก็พนมมือ

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน (Lanna Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 19 - 21(14th - 16th Century)

ผิวสนิมเขียว ลักษณะการนั่งเป็นการนั่งพนมมือ

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ: เชียงแสน - ไชยปราการ (Lanna mixed with Chaiprakarn Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 18 - 19 (13rd - 14th Century)

ผิวสนิมเขียว ศิลปะแขนงนี้สังเกตุจาก"เข่า และลักษณะพระพักตร์"

พระสาวกแบบ เชียงแสน-ไชยปราการ สร้างขึ้นมาแบบปางสดุ้งมาร

พระสาวก (Buddist Diciple)

ศิลปะ:พม่า (Burmese Style)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 22 - 23

วัสดุ: สัมฤทธิ์

เรียกตามทั่วไปว่า: พระอุปคุตจกบาตร

จาก: www.antiquecity.net