พระพุทธรูปล้านช้าง (Lan Chang Buddha Image)

อ่านเพิ่มเติม

การแบ่งศิลปะพระพุทธรูปล้านช้างตอนต้น

 

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในยุคต้นช่วงท้าย

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง แต่สิ่งที่สามารถบ่งบอกลักษณะของการเป็นพระพุทธรูปล้านช้างคือลักษณะการวางมือ ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะแขนงนี้

ศิลปะบางส่วนมีการล้อถึงศิลปะแบบลังกาวงศ์ด้วย จากลักษณะการนั่ง

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในยุคต้นช่วงท้าย

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง แต่สิ่งที่สามารถบ่งบอกลักษณะของการเป็นพระพุทธรูปล้านช้างคือลักษณะการวางมือ ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะแขนงนี้

องค์นี้มีลักษณะคล้ายกับศิลปะเชียงแสนค่อนข้างมาก แต่ยังพอที่จะสังเกตได้จากลักษณะการนั่งที่หันฝ่าเท้าออกมานอกลำตัว ซึ่งเหมือนกับการมองภาพแบบ Perspective นั่นเอง

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในยุคต้นช่วงท้าย

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง แต่สิ่งที่สามารถบ่งบอกลักษณะของการเป็นพระพุทธรูปล้านช้างคือลักษณะการวางมือ ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะแขนงนี้ โดยองค์นี้สามารถสังเกตุการวางมือได้อย่างชัดเจนว่ามือข้างซ้ายจะกระดกขึ้นเล็กน้อย

ศิลปะบางส่วนมีการล้อถึงศิลปะแบบลังกาวงศ์ด้วย จากลักษณะการนั่ง

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในยุคต้นช่วงท้าย

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง แต่สิ่งที่สามารถบ่งบอกลักษณะของการเป็นพระพุทธรูปล้านช้างคือลักษณะการวางมือ ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะแขนงนี้

องค์นี้มีลักษณะคล้ายกับศิลปะเชียงแสนค่อนข้างมาก แต่ยังพอที่จะสังเกตได้จากลักษณะการนั่งที่หันฝ่าเท้าออกมานอกลำตัว ซึ่งเหมือนกับการมองภาพแบบ Perspective นั่นเอง

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในยุคต้น

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง แต่สิ่งที่สามารถบ่งบอกลักษณะของการเป็นพระพุทธรูปล้านช้างคือลักษณะการวางมือ ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะแขนงนี้

สนิมเขียว แต่ไม่ใช่สนิมเรียบ ผิวพระพุทธรูปมีความขรุขระเล็กน้อย

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 20-21 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในยุคต้นช่วงท้าย

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง แต่สิ่งที่สามารถบ่งบอกลักษณะของการเป็นพระพุทธรูปล้านช้างคือลักษณะการวางมือ ทั้งสองข้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะแขนงนี้

องค์นี้มีลักษณะคล้ายกับศิลปะเชียงแสนค่อนข้างมาก การวางขาออกไปทางเชียงแสนลังกาวงศ์

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในเวลากันกับเชียงแสน - เชียงใหม่

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง องค์นี้มีความได้เปรียบกว่าพระพุทธรูปหลาย ๆ องค์ที่มีสนิมเขียวสวยงาม และสมบูรณ์

สิ่งที่สามารถบอกได้ว่ามีความเป็นล้านช้างผสมผสานอยู่คือเกตุเปลวเพลิงที่มีลักษณะ แตกต่างไปจากศิลปะเชียงแสน

พระพุทธรูป ปางสดุ้งมาร (Seated Buddha Image)

อายุ: พุทธศตวรรษที่ 21-22 (16th - 17th Century)

สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในเวลากันกับเชียงแสน - เชียงใหม่

พระพักตร์ และพระวรกายช่วงบน ยังมีความเป็นเชียงแสนล้านนาอยู่บ้าง องค์นี้มีความได้เปรียบกว่าพระพุทธรูปหลาย ๆ องค์ที่มีสนิมเขียวสวยงาม และสมบูรณ์มาก