MAIN MENU

  สาเหตุและการป้องกันการเบรกดาวน์ในฉนวนก๊าซ

  การไอออไนซ์เซชัน

  กลไกการเบรกดาวน์ของ Townsend

  กระบวนการ alpha

  กระบวนการ gramma

  กฎของพาสเซน

  เวลาล้าหลังของการเบรกดาวน์

  กลไกการเบรกดาวน์ของ Streamer

  ตัวอย่างโจทย์ในการคำนวณการเบรกดาวน์

  เกี่ยวกับผู้จัดทำ


ARCHIVE NEWS SEARCH

  Advanced search

ขบวนการ Gramma (Process)

                จากรูปกราฟกระแสของ townsend ช่วงศักย์ดาไฟฟ้าระหว่าง  และ จะไม่เป็นไปตามสมการ Exponential  นั้น Townsend ได้อธิบายว่ากลุ่ม Avalanche ที่เกิดในขบวนการ  นี้ จะสมบูรณ์ต่อไปก็ต่อเมื่อไอออนเคลื่อนเข้าสู่ Cathode ได้หมดแต่ขบวนการนี้ไม่สามารถทำให้เกิดการเบรกดาวน์ได้จะต้องมีขบวนการอื่นเกิดขึ้นด้วย จึงจะทำให้เกิดการเบรกดาวน์ได้ ขบวนการนั้นก็คือขบวนการ Gramma (Process) ซึ่ง  นี้ Townsend ให้เป็นสัมประสิทธิ์ของการไอออไนซ์ตัวที่สอง (Townsend’s  Second ionization ) ซึ่ง  มีค่าคือ
                                                                                    (1.0)

     ซึ่งค่าเฉลี่ยของ Electron ที่ Cathode ต่อ electron หนึ่งตัวที่เกิดขึ้นใน Gap
    เป็นสัมประสิทธิ์ที่เกิดจาก  Positive ion effect
   เป็นสัมประสิทธิ์ที่เกิดจาก  Photon  effect
    เป็นสัมประสิทธิ์ที่เกิดจาก  Metastable effect

กระแสที่เกิดขึ้นในช่วง - ซึ่งเกิดจากกระบวนการ  และ   สามารถหาค่าได้อิเล็กตรอนที่เกิดจากกลไก  จะทำให้เกิดการแตกตัวได้อีกตามกระบวนการ  
1. กระแสเริ่มต้น (I0) และกระแสจากกระบวนการ  (i) รวมกันเป็น (I0+ i) จะก่อให้เกิดกระบวนการ  ทำหักระแสเพิ่มขึ้นเป็น
                                           I = ( I0+ i)                                                   (1)

2. ทางด้านคาโธดโอออนบวกจะไหลเข้าชนกับคาโธดเป็น I-(I0+ i) สมมติว่าไอออนบวก 1 ตัว ก่อให้เกิดอิเล็กตรอน  ตัวจะได้กระแสอิเล็กตรอนขั้นที่ 2 เป็น
                                           i  =  { I-(I0+ i)  }                                             (2) 
จากสมการ (1)+ (2) จะได้กระแสที่เกิดขึ้นจากทั้งสองกระบวนการในช่วง - เป็น
                                                                    

จากสมการ                                                           

 ถ้าเทอม   กระแสจะมีค่าเป็น infinity นั่นคือ
1. กรณีที่  กระแส discharge  จะเป็นแบบสนับสนุนตัวเองไม่ได้ ถ้าเอาแหล่งจ่ายไฟออกกระแสจะหยุดไหล ซึ่งจะไม่เกิดขบวนการ Gramma
2. กรณีที่  จำนวน ไอออน  ทำให้เกิดขบวนการ avalanche ซ้ำอีก กระแส  Discharge แบบนี้จะเป็นแบบสนับสนุนตัวเองได้ ถ้าเอาแหล่งจ่ายไฟออกกระก็ยังคงไหลต่อไป จุดนี้จะเป็นจุดของการเบรกดาวน์
3. กรณีที่  จำนวนไอออนเกิดจาก avalanche มากมายทำให้เกิดกระแส discharge อย่างรวดเร็วช่วงนี้กระแสจะไหลอย่างมากมาย

Copyright ©2005 Thana Kaewtapee