สารบาญ

วิสุทธิมรรค ภาค ๒ ตอน ๑

หน้า

อนุสสติกัมมฐานนิเทส

 

มรณสติ

วิธีเจริญมรณสติ

    ผู้อินทรีย์อ่อนพึงระลึกโดยอาการ ๘

    โดยปรากฏดุจเพชฌฆาต

    โดยวิบัติแห่งสมบัติ

    โดยเปรียบเทียบ

    โดยร่างกายเป็นสาธารณ ...

๑๕

    โดยอายุเป็นของอ่อนแอ

๑๖

    โดยชีวิตไม่มีนิมิต

๑๘

    โดยชีวิตมีกำหนดกาล

๒0

    โดยชีวิตมีขณะสั้น

๒๒

    มรณสติฌาน

๒๓

    อานิสงส์เจริญมรณสติ

๒๔

กายคตาสติ

 

    กายคตาสติที่ประสงค์

๒๖

    อธิบายบาลีกายคตาสติ

๒๘

    ภาวนานิเทส

๒๙

    อุคคหโกสัลละ ๗

๒๙

      ทางวาจา

๓0

        วิธีสาธยาย

๓0

      ทางใจ - สี - สัณฐาน - ทิศ - โอกาส - ตัดตอน

๓๓

    มนสิการโกสัลละ ๑0

๓๕

      มนสิการโดยลำดับ

๓๕

      มนสิการโดยไม่เร่งนัก

๓๕

      มนสิการโดยไม่เงื่องนัก

๓๖

      มนสิการโดยป้องกันความฟุ้งซ่าน

๓๖

      มนสิการโดยล่วงเสียซึ่งบัญญัติ

๓๗

      มนสิการโดยปล่อยลำดับ

๓๗

      มนสิการโดยอัปปนา

๔๑

    สุตตันตะ ๓

๔๑

      อธิจิตตสูตร

๔๑

      สีติภาวสูตร

๔๓

      โพชฌงคโกสัลลสูตร

๔๔

    เริ่มทำกรรมฐาน

๔๔

      กำหนด ผม

๔๕

      กำหนด ขน

๔๘

      กำหนด เล็บ

๔๙

      กำหนด ฟัน

๕0

      กำหนด หนัง

๕0

      กำหนด เนื้อ

๕๓

      กำหนด เอ็น

๕๔

      กำหนด กระดูก             

๕๔

      กำหนด เยื่อในกระดูก

๕๙

      กำหนด ไต

๕๙

      กำหนด หัวใจ

๖0

      กำหนด ตับ

๖๑

      กำหนด พังผืด

๖๑

      กำหนด ม้าม

๖๒

      กำหนด ปอด

๖๓

      กำหนด ไส้ใหญ่

๖๓

      กำหนด ไส้น้อย

๖๔

      กำหนด อาหารใหม่

๖๕

      กำหนด อุทร

๖๕

      กำหนด อาหารเก่า

๖๘

      กำหนด มันในสมอง

๖๙

      กำหนด น้ำดี

๗0

      กำหนด เสมหะ

๗๑

      กำหนด บุพโพ

๗๒

      กำหนด โลหิต

๗๒

      กำหนด เหงื่อ

๗๓

      กำหนด มันข้น

๗๔

      กำหนด น้ำตา

๗๕

      กำหนด มันเหลว

๗๖

      กำหนด น้ำลาย

๗๗

      กำหนด น้ำมูก

๗๘

      กำหนด ไขข้อ

๗๘

      กำหนด มูตร

๘0

    นิมิตและอัปปนา

๘๑

    เหตุที่เรียกกายคตาสติ

๘๒

    อานิสงส์เจริญกายคตาสติ

๘๒

อานาปานสติ

 

    วัตถุ ๑๖ - จตุกกะที่ ๑

๘๔

    วัตถุ ๑๖ - จตุกกะที่ ๒

๘๕

    วัตถุ ๑๖ - จตุกกะที่ ๓

๘๕

    วัตถุ ๑๖ - จตุกกะที่ ๔

๘๖

ภาวนานิเทศ

 

    แก้ สนฺโต ปณีโต

๘๗

    แก้ อเสจนโก

๘๘

    แก้ อิธศัพท์

๙0

    เหตุที่ตรัส อรญฺญคโต ... นัยที่ ๑

๙0

    เหตุที่ตรัส อรญฺญคโต ... นัยที่ ๒

๙๒

    เหตุที่ตรัส อรญฺญคโต ... นัยที่ ๓

๙๒

    แก้ สโตการี

๙๖

    แก้ศัพท์ อัสสาสะ ปัสสาสะ

๙๗

    อานาปานสติเป็นกายานุปัสสนา

๙๙

    แก้ สพฺพกายปฏิสํเวที

๑0๒

    แก้ ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ

๑0๔

ลมหยาบและละเอียดเป็นชั้นๆ

 

    นัยทางสมถะ

๑0๖

    นัยทางวิปัสสนา

๑0๗

    อรรถาธิบายในปฏิสัมภิทามรรค

๑0๘

วิธีฝึกหัดทำ

๑๑๒

    ปัญจสนธิ

๑๑๒

วิธีมนสิการ

๑๑๓

    คณนา - วิธีนับลม - นับช้า

๑๑๔

    คณนา - วิธีนับลม - นับเร็ว

๑๑๕

    อนุพนฺธนา - วิธีติดตามลม

๑๑๗

    ผุสนา - ที่ลมกระทบ

๑๑๘

    ฐปนา - อัปปนา

๑๑๘

    ลักษณะที่ต่างจากกรรมฐานอื่น                                             

๑๒๓

    อุบายนำลมคืน

๑๒๔

นิมิตปรากฏต่างๆ กัน

๑๒๖

    นิมิตปรากฏแล้วทำอย่างไร

๑๒๙

วิธีเจริญวิปัสสนาต่อ

 

    กำหนดนามรูป

๑๓๑

    วิปัสสนาญาณเกิดโดยลำดับ

๑๓๒

พรรณนาจตุกกะ ที่ ๒

๑๓๓

พรรณนาจตุกกะ ที่ ๓

๑๓๖

พรรณนาจตุกกะ ที่ ๔

๑๓๘

อานิสงส์อานาปานสติ

๑๔๑

อุปสมานุสติ

๑๔๖

    อานิสงส์อุปสมานุสติ

๑๔๘

พรหมวิหารนิเทส

 

เมตตาพรหมวิหาร

๑๕๑

    โทษโทสะ อานิสงส์ขันติ

๑๕๑

    บุคคลที่เป็นโทษแก่ภาวนา ๖

๑๕๒

    ให้เจริญเมตตาในตนเองก่อน

๑๕๔

เจริญเมตตารวมแดน

๑๕๖

    การสอนตนเมื่อเกิดปฏิฆะ

๑๕๗

      ๑. ระลึกถึงโทษของความโกรธ

๑๕๙

      ๒. ระลึกถึงความดีของเขา

๑๖๑

      ๓. โกรธคือทำทุกข์ให้ตนเอง

๑๖๔

      ๔. พิจารณากัมมัสสกตา

๑๖๖

      ๕. พิจารณาถึงพระบุพจริยา

๑๖๙

      ๖. พิจารณาความที่เคยเกี่ยวข้องกันในสังสารวัฏ

๑๗๖

      ๗. พิจารณาอานิสงส์เมตตา

๑๗๖

      ๘. ใช้วิธีแยกธาตุ

๑๗๘

      ๙. ทำทานสังวิภาค

๑๗๙

    สีมสัมเภท - รวมแดน

๑๘๑

    เมตตาฌาน

๑๘๒

    แก้บาลีอัปปมัญญา

๑๘๔

    อรรถแห่ง วิกุพฺพนา

๑๘๖

    อโนธิโสผรณา ๕

๑๘๗

    โอธิโสผรณา ๗

๑๘๗

    ทิสาผรณา ๑0

๑๘๘

    แก้อรรถ สพฺเพ สตฺตา เป็นต้น

๑๙0

    อัปปนา ๕๒๘

๑๙๓

    แก้อรรถเมตตานิสงส์

๑๙๔

กรุณาพรหมวิหาร

๒00

มุทิตาพรหมวิหาร

๒0๔

อุเบกขาพรหมวิหาร

๒0๖

    ปกิณณกกถาในพรหมวิหาร

 

      วินิจฉัยโดยอรรถ

๒0๘

      วินิจฉัยโดยลักษณะเป็นต้น

๒0๙

      ประโยชน์ของพรหมวิหาร

๒๑๑

      ข้าศึกใกล้และไกลของพรหมวิหาร

๒๑๒

      อโนธิชินะ อวิปากชินะ

๒๑๔

      เบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด อารมณ์และการขยายอารมณ์แห่งพรหมวิหาร

๒๑๕

      อุเบกขาเป็นผลลัพธ์แห่งพรหมวิหาร ๓

๒๑๖

      เหตุไรจึงเรียกพรหมวิหาร เพราะอะไรจึงมี ๔ ...

๒๑๖

      ๓ พรหมวิหารข้างต้นได้เพียงตติยฌาน

๒๒0

      อัปปมัญญามีอานุภาพแปลกกัน

๒๒๔

      อัปปมัญญาทำกัลยาณธรรมให้บริบูรณ์

๒๒๗

อารูปปนิเทส

 

อากาสานัญจายตนะ

 

    ผู้ใคร่ล่วงกสิณรูป อุปมาเหมือนคนกลัวงู

๒๓0

    เพิกกสิณ

๒๓๒

    กสิณุคฺฆาฏิมากาส

๒๓๓

    อุปจารและอัปปนา

๒๓๔

    ความแปลกในอากาสานัญจายตนะ

๒๓๕

    แก้อรรถปาฐะในอากาสานัญจายตนะ

๒๓๖

      แก้ รูปสญฺญา

๒๓๖

      แก้ สมมติกฺกมา

๒๓๗

      แก้ ปฏิฆสญฺญา

๒๓๘

      แก้ นานตฺตสญฺญา

๒๔0

      ความหมายต่างแห่งปาฐะ

๒๔๑

      ความหมายโดยสังเขป

๒๔๒

      แก้ อนนฺโต อากาโส

๒๔๒

      แก้ อากาสานญฺจายตนํ

๒๔๒

วิญญาณัญจายตนะ

 

      แก้อรรถปาฐะในวิญญาณัญจายตนะ

๒๔๕

      วิเคราะห์ศัพท์วิญญาณัญจายตนะ

๒๔๖

อากิญจัญญายตนะ

๒๔๘

      อากิญจัญญายตนะเห็นแต่ความไม่มี

๒๔๘

      แก้อรรถปาฐะในอากิญจัญญายตนะ

๒๕0

      วิเคราะห์ศัพท์อากิญจัญญายตนะ

๒๕๑

เนวสัญญานาสัญญายตนะ

๒๕๒

      แก้อรรถปาฐะในเนวสัญญานาสัญญายตนะ

๒๕๓

      เมื่อเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนะทำในใจอย่างไร

๒๕๕

      คำว่าเนวสัญญานาสัญญายตนะประสงค์เอาอะไร

๒๕๖

      ความหมายแห่งคำ

๒๕๖

      สัมปยุตธรรมในอารูปที่ ๔ ทำกิจไม่ชัดทั้งนั้น

๒๕๗

      อุปมาด้วยน้ำมันทาบาตร

๒๕๗

      อุปมาด้วยน้ำเปียกทางเดิน

๒๕๙

ปกิณณกกถาในอารูป

 

      อารูปเลื่อนชั้นโดยล่วงอารมณ์ มิใช่ล่วงองค์

๒๖0

      อารูปประณีตกว่ากันเพราะองค์ประณีตเข้าโดยลำดับ

๒๖๑

      อารูป ๔ อุปมาด้วยบุรุษ ๔ คน

๒๖๒

      อารูปที่ ๔ จำต้องอาศัยเกาะอารูปที่ ๓

๒๖๔