Baycom

การแก้ไข SCC.INI(Baycom 1.40>
English on
Report English/German เลือกใชภาษาอังกฤษหรือเยอรมัน โครงสร้างของไฟล์นี้เป็นลำดับแบบกว้าง ๆ บรรทัดว่าง/ตัวอักษรอาจจะนำมาใส่ที่ใดก็ได้ แถวต่อไป คำสั่งอาจจะใช้เป็นอักษรพิมพ์ใหญ่หรือเล็กก็ได้ สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญก็คือค่าพารามิเตอร์ที่ใส่(ใช้)ในขณะนี้น ดังนั้นจึงขอแนะนำว่า ก่อนที่จะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงใด ๆ ก็ควรจะทำ Backup คำทำสำเนาเอาไว้เสียก่อน หากมีความยุ่งยากเกิดขึ้นในภายหลังก็สามารถนำมาเป็นแบบอ้างอิงได้

;
;ตัวอักษรทั้งหมดที่อยู่สัญลักษณ์ ;- ในบรรทัดถือว่าไม่มีผลใด ๆ
;
;ไฟล์ที่บรรจุค่าพารามิเตอร์นี้จะถูกนำมาอ่านโดยPARA.EXEเมื่อใดก็ตามที่L2.EXEเริ่มทำงานอีกครั้งหนึ่ง
;สิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อหาSCC.PARไม่พบ หรือมีการเปลี่ยนแปลงในSCC.INIนับตั้งแต่ได้มีการใช้โปรแกรมครั้งสุดท้ายที่
;ผ่านมา ค่าพารามิเตอร์อย่างเดียวกันนี้จะถูกบันทึกไว้ในSCC.PARแต่รูปแบบของข้อมูลที่ใช้อ่านอย่างเดียว(แก้ไขไม่ได้)ดังนั้นจึง
;ทำให้การใช้งานทำได้เร็วมากและง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
;
;Limiting Data for the RAM Store Management and Port Operation
;-----------------------------------------------------------------------------
;
; Value Range
;tport 8
:2.......8 ตัวเลขของจอเทอรมินอล(1 port ใช้ UI/Monitorคือไว้ดูข้อความทั่วไป)
;buffer 40
;40........400 ยอดรวมปริมาณของพื้นทีเก็บข้อมูลของ AX.25ในเฟรมต่าง ๆ
mbuffer 10
;2.........50 ขนาดของพื้นที่สำหรับ monitor ข้อความครั้งละ 300 ตัวอักษร
rbuffer 10
;4......20 พื้นที่เก็บข้อมูลสำหรับ RX-Port ครั้งละ 330 ตัวอักษร
tbuffer 8
;2......14 พื้นที่เก็บข้อมูลสำหรับ TX-Port ครั้งละ 330 ตัวอักษร

;
;การเลือก Srial Port
:-----------------------
;
rs232  2
;0.......2 ตัวเลข port(คือ COM2 หรือCOM2)

;
;การตั้ง Video
;----------------------
;
;d1lines  4
;2....20 ตัวเลขจำนวนบรรทัดในช่อง window ของ TX(ส่ง)
;d2lines  20
 ;3......23 บรรทัดสำหรับ monitor window
;vadapter  2
 ;0....3 ชนิดของ Video 0=อัตโนมัติ 1=ขาวดำ 2= แบบสี 3=แบบLCD แบบกระเป๋าหิ้ว หรือแบบขาวดำ VGAให้ตั้งเป็น VA3!
vcolumns  80
 ;40...132 ความยาวอักษรแต่ละบรรทัด ให้ตั้งเป็น 80
vlines  25
 ;25.....75 จำนวนตัวอักษรแต่ละบรรทัดใช้กับ VA2 และ 3 เท่านั้น
saveports  5
 ;0......8 จำนวน port ที่ screen จะบันทึกไว้ได้
wwrap  80
;40.....100 ตำแหน่งรับข้อความเข้ามาโดยอัตโนมัติ ปกติ 80
insmode  on
;on/off ตั้งค่าพารามิเตอร์เพื่อใส่ข้อความหรือเขึยนทับข้อความ
dosclear ;on/off
เมื่อตั้งเป็น on จะลบข้อความบนจอภาพ ถ้าเป็น off ไม่ลบ
mheader on ;on/off
 ข้อความแพ็คเก็ตจะปรากฏใต้ข้อความหลัก
german off
 on เป็นภาษาเยอรมัน off เป็นภาษาอื่น
remote on;on/off :
เป็นการอนุญาตให้สถานีอื่นใช้คำสั่ง//command ได้
command on on/off
 เมื่อเป็น on จะมีเครืองหมาย : ในบรรทัดต่อไปโดยอัตโนมัติ
echo on ;on/off
 แสดงข้อความต่าง ๆ ทั้งในช่องส่งข้อความ รับข้อความ
log off ;on/off
 ทำหน้าที่เป็นสมุดบันทึก ไฟล์นี้ชื่อว่า SCC.LOG
exitlog off
on/off บันทึกข้อความเมื่อใช้โปรแกรมเสร็จแล้ว
knax on
;on/off มีเสียงเตือนที่ลำโพงเมื่อมีข้อมูลเข้ามา

cbell on
;on/offมีเสียงปี๊ปเมื่อมีการติดต่อและยกเลิกการติดต่อ หรือใช้ CTRL-G ก็ได้

;คำสั่งใช้งานจากสถานีอื่น ใช้ควบคุมเกี่ยวกับ rcmd cstatus info mheard quit users version read writ write wprg dir
;write 1 port1.scc
;ไฟล์จะเปิดในตอนเริ่มใช้งานโดยอัตโนมัติ สามารถทำการตั้งไว้ใช้ในแต่ละ port ได้
;write 2 port2.scc
;ถ้าต้องการใช้งานนี้ให้ลบเครืองหมายคอลอนออกจากด้านห้าของแต่ละคำสั่ง
write 3 port.scc
;write 4 port4.scc

;
;การใช้สัญญาณเรียกขาน
;-----------------------------
;
dcall PA0XYZ
;สัญญารเรียกขานของ digipeater(เหมือนกัน mycall แต่ต่างกันที่ SSID)
connect test
;สัญญาณเรียกขานที่ส่งไปแบบ unproto(ติดต่อ port0)
mycall 0A0XYZ
;ใช้ได้ถึง 4 สัญญาณเรียกขาน
cnot nocall tnc2c pk232
;ใช้เมื่อไม่ต้องการติดต่อกับสัญญาณเรียกขานที่ระบุไว้

;
;ตั้งข้อความต่าง ๆ
;--------------------
;
;Connecttext ข้อความที่ตอบเมื่อมีผู้ติดต่อเข้ามา
ctext[---------HS4DOR*BAYCOM VER.1.40-----------]ข้อความที่พิมพ์เอาไว้นี้จะถูกส่งทักทายออกไปยังสถานีที่ติดต่อเข้ามา
;
;Quitetex(ข้อความนี้จะส่งออกไปกล่าวอำลาคู่สถานีเพื่อเข้าใช้คำสั่งยกเลิกการติดต่อด้วย q หรือ//q)
qtext
73 de HS4DOR have a nice day,good luck and good bye
qtext
Baycom modem 1200,computer486
;qtext
เขียนข้อความใส่ลงไปหลังqtextเมื่อคู่สถานียกเลิกการติดต่อ เครื่องของเราจะส่งคำอำลานี้ออกไปโดยอัตโนมัติ

;
answer on
เมื่อตั้งเป็นon เปิดเครืองขึ้นมาก็จะมีข้อความทักทายขึ้นมาให้เราเห็นบนจอภาพ ข้อความนั้นจะเขียนไว้ที่ไฟล์ชื่อCALL.CTX

;
;ค่าพารามิเตอร์ของlayer2ใช้ในทุกช่องการใช้งาน
;-------------------------
;
monitor0123456789
;จำนวนรายชื่อช่องการใช้งาน ซึ่งจะแสดงให้เห็นบนจอภาพ
mselect 0
หมายเลข1เป็นการ monitor QSO หมายเลข 2 เป็นการmonitorจากสถานี.......หมายเลข3 เป็นการ monitor ข้อความที่ส่งไปถึงสถานี.... หมายเลข +10 เป็นการไม่ monitor ข้อความใด ๆ เลย
mcalls HS4DOR
;Monitor สัญญาเรียกขานที่เลือกแล้ว

frack 50
;10.....200 Frack-timer start value in 100ms-Units(timer1)
restime 2
;1....10 RESPONSE-timer in 100ms=Units(timer2)
linktime
6......120 inactive-link-timer in 10ms-Units(timer 3)
paclen 254
;1......256 ความยาวอักษรต่อบรรทัด
retry 20
;1.....100 จำนวนติดต่อซ้ำก่อนยกเลิก
ipoll 80
;1....100ความยาวของหัวข้อสำหรับ Ipoll
tinfo 4
;1...100 เวลาข้อมูล
disctime 120
;0......600 เวลายกเลิกการติดต่อในพอร์ทที่ไม่ทำงาน(10วินาที)

;
dwait 30
เวลารอคอยเพื่อเตรียมส่งข้อความต่อไป
txdealy 30
;หน่วงเวลากด ptt
maxframe 3
จำนวนเฟรมที่ส่ง เลือกได้จาก 1...7
beacon 30
;ตั้งเวลาส่งข้อความออกอากาศอัตโนมัติ
baddress
;BEACON HS4DOR HS0AC ;ที่หมาย beacon คือ<สถานีปลายทาง><สัญญาณเรียกขานของเราเอง><สถานีดีจิพีทเตอร์>
btext
(เขียนข้อความที่ต้องการส่งออกอากาศแบบ beacon ไว้ที่นี่)
beacon text
hbaud 1200
ความเร็วการส่งข้อมูล

;
;
;การตั้งสีจอภาพ
;-----------------------
;
;สีของพื้นหลังและพื้นหน้าให้ไว้เป็นแบบตัวเลข
;รูปแบบ
;
cselect 0
;ตั้งค่าสีจอแบบขาวดำ ;
sattrib 0 07
;window สำหรับส่งข้อความ
sattrib 1 70
;แถบบอกสถานะด้านบน(ระหว่าง RX และ TX)
sattrib 2 f0
;STOP-indicator ในแถบสถานะด้านบน
sattrib 3 07
;RX window ช่องส่ง
sattrib 4 70
;แถบบอกสถานะด้านล่าง บอกถึง com สัญญาณเรียกขาน+หมายเลขพอร์ท
sattrib 5 70
;แถบสถานะด้านล่าง ไม่มีตัวเลือก ไม่มีการติดต่อ
sattrib 6 0f
แถบบอกสถานะด้านล่าง พอร์ทที่ถูกเลือกไว้
sattrib 7 07
;monitor บอกที่อยู่
sattrib 8 0f
;Monitor:บอกข้อมูลการติดต่อ
sattrib 9 70
;เนื้อความของ help-window
sattrib 10 07
;ตำแหน่งที่กำนหดไว้ใน help-window
sattrib 11 8f
;ตำแหน่งที่ถูกแลือกใน help-window
sattrib 12 70
;Control-Char(ต้องไม่เหมือนกันกับ zu 0,3,7,8!)

;
cselect 13
;ตั้งค่าพารามิเตอร์กำหนดสีที่ออกมาจากจอภาพ EGA,VGA
sattrib 0 02
;TX Window(ตั้งสีให่แก่ช่องการส่งข้อความ)
sattrib 1 47
;แถบบอกสถานะด้านบน(ระหว่างRXและTX window)
sattrib 2 c7
;Stop-indicator ในแถบสถานะด้านบน
sattrib 3 17
;RX-window(ช่องรับข้อความ)
sattrib 4 47
;แถบบอกสถานะด้านล่าง บอกถึง com สัญญาณเรียกขาน+หมายเลขพอร์ท
sattrib 6 40
;แถบบอกสถานะด้านล่าง ไม่มีการเลือก ไม่มีการติดต่อ
sattrib 7 03
;Monitor บอกที่อยู่
sattrib 8 02
;Monitor บอกข้อมูลต่าง ๆ
sattrib 9 17
;เนื้อความใน help-window
sattrib 10 1e
;ตำแหน่งที่กำหนดในhelp=window
sattrib 11 5e
;ตำแหน่งที่เลือกใน help-window
sattrib 12 04
;Control-Char(ต้องไม่เหมือนกันกับ 0,3,7,8!)

;
; ^ พื้นหน้า(พิมพ์)
; ^ พื้นหลัง
;หมายเลขแสดงค่าสีต่าง ๆ
;0=ดำ 8=สีเทาเข้ม
;1=น้ำเงิน 9=น้ำเงินอ่อน
;2=เขียว :A=เขียวอ่อน
;3=เขียว+น้ำเงิน B=เขียว+น้ำเงินอ่อน
;4=แดง C=แดงอ่อน
;5=สีม่วง D=ม่วงอ่อน
;6=น้ำตาล E=เหลือง
;7=ขาว F=ขาวอ่อน
;
;^ ค่าสีต่าง ๆ ที่หนดไว้นี้เป็นสีอยู่ด้านหน้า(เช่นตัวหนังสือเป็นต้น)ถ้าทำเป็นพื้นหลัง สีหมายเข 0....7 จะจางลง
ประวัติ Baycom

การตั้งค่าพารามิเตอร์ Baycom v.1.4 ในไฟล์ SCC.INI จบแล้ว ชมรมแพ็คเก็ตเรดิโอแห่งประเทศไทย รับใช้สังคม พบกันใหม่คราวหน้า 73 de HS4DOR 9-5-2000