คำนำ | กำเนิดแพ็คเก็ตเรดิโอ | ผู้บุกเบิกชายแคนาดา | กำเนิดแพ็คเก็ตเรดิโอในสหรัฐ(2523-25) |
2526: ยุคแห่งก้าวหน้าของ TNC | ผลงานของ TAPR | พุทธศักราช 2527:ประวัติศาสตร์หน้าแรก | พุทธศักราช 2528:ปีแห่งความมุ่งมั่น |
พุทธศักราช2530:ระบบเครือข่าย | Baycom แห่งเยอรมันนี | 2531: ปีแห่งการเติบโตของระบบเครือข่าย | 2532:เครือข่ายขยายตัวสู่ห้วงอวกาศ |
ข้อสรุป | ชุดติคทำเองของ TNC รุ่นแรก | เฉลิมฉลองความสำเร็จแห่งดิจิตอลโหมด | กำเนิดแพ็คเก็ตเรดิโอในประเทศไทย |
โมเด็มและ TNC | คอมพิวเตอร์ราคาแพง | ชมรมแพ็คเก็ตเรดิโอแห่งประเทศไทย: | กำเนิดของ :PRNT |
ผลงาน PGOT | โหมดทีใช้ทดลองในประเทศไทย | ||
แพ็คเก็ตเรดิโอทำอะไรได้บ้าง | ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา | สรุปความเป็นมาของแพ็คเก็ตเรดิโอ |
กำเนิดแพ็คเก็ตเรดิโอ
( กลับไปหน้าแรก )
กำเนิดแพ็คเก็ตเรดิโอในสหรัฐ(2523-2525) กลับสู่หน้าแรก
ความถี่แพ็คเก็ตเรดิโอในประเทศไทย จาก ปี พ.ศ.๒๕๓๙ -๒๕๔๔ ---------------------------------------------------------------- นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ ได้มีการขออนุญาตทดลองระบบแพ็คเก็ตเรดิโอโดย สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระพรมราชูปถัมภ์ ได้รับอนุญาตให้ใช้ความถี่ดังต่อไปนี้คือ ความยาวคลื่น ย่านความถี่ ความถี่/MHz. 2 VHF 145.825 40 HF 7.035-7.040 20 HF 14.070-14.112 15 HF 21.080 - 21.120 10 HF 28.070 - 28.150 ความถี่แพ็คเก็ตเรดิโอในประเทศไทย ปี พ.ศ.๒๕๔๔ - ถึงปัจจุบัน ------------------------------------------------------------------------- วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ ได้มีประกาศแก้ไขปรับปรุงความถี่วิทยุสมัครเล่นใหม่ ได้รวมกับความถี่แพ็คเก็ตเรดิโอเข้าไปไว้ในหมวดว่า ด้วยการส่งข้อความประเภทอื่น ไม่ได้ระบช่องความถี่เอาไว้ แต่ระบุเพียงย่านคาามถี่เท่านั้น ดังนี้คือ ความยาวคลื่น/เมตร ย่านความถี่ ความถี่ /MHz . 2 VHF 145.5000 -145.6125 2 VHF 145.7250 - 145.8000 จึงถือได้ว่า ระบบแพ็คเก็ตเรดิโอในประเทศไทย ได้รับการอนุญาตจากทางราชการ เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๔ เมื่อเทียบกับประเทศต่าง ๆ แล้ว แพ็คเก็ตเรดิโอล้าหลังประเทศอื่น ๆ ดังนี้ หลังประเทศแคนาดา ๒๓ ปี หลังประเทศสหรัฐ ๒๑ ปี ประวัติความเป็นมาของแพ็คเก็ตเรดิโอ แก้ไขเพิ่มเติมใหม่ เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔ |
สมลักษณ์ วันโย HS4DOR ประธานชมรมแพ็คเก็ตเรดิโอแห่งประเทศไทย 18.-7-43; | to the top |