ผู้เข้าชมงานพึงพอใจมาก
ร้อยละ 50.7
ได้รับประโยชน์จากงานร้อยละ
50
ชี้ยังต้องให้ปรับปรุงด้านการประชาสัมพันธ์ของงาน
เน้นให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
ควรจัดกิจกรรมทุกอาคาร
ทีมวิจัยตลาดโพล
ทำการสำรวจข้อมูล
ผู้เข้าร่วมงานราชภัฏวิชาการ
ครั้งที่ 3 ในระหว่างวันที่ 1
3
พฤศจิกายน 2544
ณ สถาบันราชภัฏอุดรธานี
จากการเก็บแบบสอบถามจำนวน 280
ชุด ผลการสำรวจสามารถสรุปได้ดังนี้
ความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดงานราชภัฏวิชาการโดยรวมพบว่า
ผู้เข้าร่วมงานมีความพึงพอใจ
อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากจำนวน
142 คน
คิดเป็นร้อยละ
50.7 รองลงมามีความพึงพอใจปานกลางจำนวน
99 คน
คิดเป็นร้อยละ
35.4 และมีความพึงพอใจน้อยจำนวน
4 คน
คิดเป็นร้อยละ 1.4
ตามลำดับ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานราชภัฏวิชาการในครั้งนี้
พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามได้รับประโยชน์
อยู่ในเกณฑ์ได้รับประโยชน์มาก
จำนวน 140 คน
คิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมาได้รับประโยชน์ปานกลางจำนวน
123
คน คิดเป็นร้อยละ
43.9
ได้รับประโยชน์น้อยจำนวน
11 คน
คิดเป็นร้อยละ
3.9 และไม่มีความคิดเห็น
6
คน คิดเป็นร้อยละ
2.1
ตามลำดับ
สำหรับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมราชภัฏวิชาการในครั้งนี้พบว่าผู้เข้าร่วมงานพึงพอใจกับผลงานคณะวิทยาการจัดการมากที่สุดจำนวน
88 คน
คิดเป็นร้อยละ 31.4
รองลงมาได้แก่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจำนวน
79 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.2
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จำนวน
59 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.1
และคณะครุศาสตร์จำนวน
54
คน คิดเป็นร้อยละ
19.3
ตามลำดับ
การรับข่าวสารของงานราชภัฏวิชาการในครั้งนี้
พบว่าผู้เข้าร่วมงานได้รับข่าวสารจากป้ายประกาศมากที่สุดจำนวน
115 คน
คิดเป็นร้อยละ 41.1
รองลงมาได้แก่ข่าวประชาสัมพันธ์จำนวน
71 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.4
คนอื่นแนะนำจำนวน
36
คน คิดเป็นร้อยละ
12.9
หนังสือราชการจำนวน
23
คน คิดเป็นร้อยละ
8.2
แผ่นพับจำนวน
19
คน คิดเป็นร้อยละ
6.8
อื่นๆ
ได้แก่ อินเทอร์เน็ต
เพื่อนชักชวน อาจารย์แนะนำ
เป็นต้น จำนวน
11 คน
คิดเป็นร้อยละ
3.9 วิทยุจำนวน
3
คน คิดเป็นร้อยละ
1.1
และโทรทัศน์จำนวน 2
คน คิดเป็นร้อยละ
0.7
ตามลำดับ
ส่วนด้านการปรับปรุงงานราชภัฏวิชาการในครั้งนี้
พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามต้องการให้สถาบันราชภัฏอุดรธานีปรับปรุงในด้านการประชาสัมพันธ์งานมากที่สุด
จำนวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ
43.6 รองลงมาต้องการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจำนวน 67
คน คิดเป็นร้อยละ
23.9
ควรจัดกิจกรรมทุกอาคารจำนวน 33
คน คิดเป็นร้อยละ
11.8 เพิ่มจำนวนวันให้มากขึ้นจำนวน
25 คน
คิดเป็นร้อยละ 8.9
อื่นๆ
ได้แก่ ควรมีงานเกี่ยวกับการวิจัยของอาจารย์และนักศึกษาให้มากขึ้น
เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น มีการประชุมปรึกษาหารือกันก่อนการจัดงาน ควรเปลี่ยนวงดนตรี
กิจกรรมบางกลุ่มสร้างเสียงรบกวน
งานแสดงควรมีมากกว่านี้
การจัดส่งเอกสารไปยังหน่วยงานอื่นๆ
ให้เร็วขึ้น สถานที่การจัดกิจกรรมควรให้เหมาะสมมากกว่านี้ ควรจัดในช่วงวันเด็กจะมีผู้เข้าร่วมชมมากขึ้น
ควรมีการเตรียมความพร้อมมากกว่านี้
จำนวน 10
คน คิดเป็นร้อยละ
3.6
ตามลำดับ
การสำรวจข้อมูลในครั้งนี้
ใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 280 คน
โดยการแบ่งเก็บรวบรวมข้อมูล
รวม 3 วัน ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถาม
แบ่งเป็น เพศชายจำนวน
146
คน คิดเป็นร้อยละ
52.1
เพศหญิงจำนวน 134
คน คิดเป็นร้อยละ
47.9
อายุผู้เข้าร่วมงานพบว่า
มีอายุอยู่ในช่วง
16
25
ปี มากที่สุดจำนวน 204
คน คิดเป็นร้อยละ
72.9
รองลงมาได้แก่อายุ 26
35
ปี จำนวน 39
คน คิดเป็นร้อยละ
13.9
อายุต่ำกว่า 16
ปี จำนวน
16
คน คิดเป็นร้อยละ
5.7
อายุ 36
45
ปี จำนวน 15
คน คิดเป็นร้อยละ
5.4
อายุ 46
55
ปี จำนวน
4
คน คิดเป็นร้อยละ 1.4
อายุ 55
ปีขึ้นไป จำนวน 2
คน คิดเป็นร้อยละ
0.7
ตามลำดับ ด้านการศึกษา
ระดับปริญญาตรีมาก
ที่สุด จำนวน 203
คน คิดเป็นร้อยละ
72.5
รองลงมาได้แก่อนุปริญญาจำนวน 22
คน คิดเป็นร้อยละ
7.9
ระดับปวส. จำนวน
21
คน คิดเป็นร้อยละ
7.5
มัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 15
คน คิดเป็นร้อยละ
5.4 มัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน
12 คน
คิดเป็นร้อยละ 4.3
สูงกว่าปริญญาตรีจำนวน 4
คน คิดเป็นร้อยละ
1.4
และระดับปวช.
จำนวน
3 คน
คิดเป็นร้อยละ 1.1
ตามลำดับ อาชีพพบว่า
มีอาชีพนักศึกษามากที่สุดจำนวน
180 คน
คิดเป็นร้อยละ
64.3 รองลงมารับราชการเป็นจำนวน
40 คน
คิดเป็นร้อยละ
14.3
นักเรียนจำนวน
27 คน
คิดเป็นร้อยละ
9.6 ประกอบอาชีพเอกชนจำนวน
19
คน คิดเป็นร้อยละ
6.8
อื่นๆ ได้แก่
ลูกจ้างอบต. ครู
อาจารย์ เป็นต้น
มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน
9
คน คิดเป็นร้อยละ
3.2
และรัฐวิสาหกิจจำนวน
5 คน
คิดเป็นร้อยละ 1.8
ตามลำดับ
สำหรับการเข้าร่วมงานราชภัฏวิชาการในครั้งนี้
พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเคยเข้าร่วมงานราชภัฏวิชาการมาแล้ว
จำนวน 181 คน
คิดเป็นร้อยละ
64.6 ส่วนผู้ที่ไม่เคยเข้าร่วมงานจำนวน
99
คน คิดเป็นร้อยละ
35.4
ตามลำดับ
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |