|
เป้าหมายและยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2547 |
เป้าหมายการให้บริการ | เครื่องชี้วัดความสำเร็จ | ยุทธศาสตร์กระทรวง |
1.ประชาชนมีอัตราป่วยและตาย ด้วยโรคสำคัญลดลง |
1.อัตราตายจากมะเร็งเต้านมในสตรีไม่เกิน
4 ต่อ แสนประชากร 2.อัตราตายจากมะเร็งปากมดลูกในสตรีไม่เกิน 3.5 ต่อแสนประชากร 3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจาก 139.9 ในปี 2545 เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 4.อัตราตายด้วยอุบัติเหตุยานยนต์จราจรทางบกลด ลงจาก 20.5 เหลือไม่เกิน 19.5 ต่อแสนประชากร 5.อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด(โรค ระบบไหลเวียนโลหิต) ลดจาก 56.2 ในปี 2544 เหลือไม่เกิน 53.2 ต่อแสนประชากร 6.อัตราตายจากการมีเจตนาทำร้ายตนเอง(ฆ่าตัวตาย) ไม่เกิน 7.7 ต่อแสนประชากร 7.อัตราป่วยวัณโรคในระยะแพร่เชื้อไม่เกิน 70 ต่อ แสนประชากร 8.อัตราความชุกของการติดเชื้อเอดส์ในหญิง ตั้งครรภ์ เหลือไม่เกินร้อยละ 1.2 และในชายไทย ก่อนเข้าเป็นทหารกองประจำการ เหลือไม่เกิน ร้อยละ 0.4 |
พัฒนาประสิทธิภาพการป้องกันและควบคุมโรค |
2.ประชาชนมีพฤติกรรมการ ส่งเสริมสุขภาพและมีการ จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ สุขภาพดี |
1.เด็กอายุ
0-5 ปี มีพัฒนการสมวัย (ทางด้าน ร่างกายและจิตใจ) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2.ประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายวันละ 30 นาทีอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 55 3.องค์กรท้องถิ่นอย่างน้อยร้อยละ 20 มีกระบวนการ ดำเนินงานด้านเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ 4.ตลาดสดประเภท 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 สะอาด ได้มาตรฐาน 5.ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 45 6.โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแห่งชาติ กรมสามัญศึกษาแล กทม. ที่ดำเนินงานตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 7.ภาคีเครือข่ายอย่างน้อยร้อยละ 20 มีกระบวน การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ |
ส่งเสริมการสร้างสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพดี |
3.ประชากรได้รับความคุ้มครอง ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มี คุณภาพได้มาตรฐาน |
1.ร้อยละ
80
ของผลิตภัณฑ์สุขภาพมีคุณภาพ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.ร้อยละ 80 ของเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน ได้รับการจัดการ 3.สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพมีคุณภาพ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด อย่างน้อยร้อยละ 80 |
ส่งเสริมให้มีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ |
4.ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน อย่างเป็นธรรม เสมอภาค |
1.ร้อยละ
100 ของสถานบริการสุขภาพ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.ผู้รับบริการร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ บริการในสถานบริการสุขภาพในสังกัด กสธ. 3.ร้อยละของผู้ที่ได้รับการบำบัดรักษาและฟื้นฟู สมรรถภาพจากการเสพยาเสพติด 4.ความครอบคลุมของการมีหลักประกันสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมายคิดเป็นร้อยละ 100 |
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการสุขภาพ |
5.ประชาชนสามารถเข้าถึง บริการสุขภาพแบบองค์รวม ด้านการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน |
1.ร้อยละ
20
ของสถานบริการสุขภาพมีการ ให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยที่ ได้มาตรฐาน 2.ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจใน การบริการด้านการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสุขภาพ |
พัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่มีคุณภาพ เข้าสู่บริการสุขภาพทุกระดับ |
6.ระบบการบริหารจัดการได้รับ การพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ |
1.หน่วยงานร้อยละ
90 มีระบบบริหารจัดการ ที่เอื้อต่อการให้บริการด้านสุขภาพ |
พัฒนาการบริหารจัดการ
เพื่อสนับสนุน ระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ |
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดระดับแผนบูรณาการ
เป้าหมายการให้บริการ | ตัวชี้วัด |
1.ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่มี คุณภาพอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม |
-
ความครอบคลุมของการมีหลักประกันสุขภาพคนไทย
คิดเป็น100 % - ความแตกต่างของอัตราการใช้บริการของผู้มีสิทธิ (ควบคุมตัวแปรเรื่องอายุ) เปรียบเทียบระหว่างประเภทสิทธิประกันสุขภาพต่างๆ ไม่เกิน 5% - อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ ไม่น้อยกว่า 80% - อัตราการร้องเรียนของผู้มารับบริการ ไม่เกิน 5 คนต่อผู้มารับบริการแสนคน |
2.มีระบบบริหารจัดการ
และระบบการจัด บริการสุขภาพ ในระบบประกันสุขภาพ ถ้วนหน้าที่มีประสิทธิภาพ |
-
อัตราบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ซ้ำซ้อนกับระบบประกันสุขภาพอื่นๆ
ของภาครัฐ ไม่เกิน 1% - เรื่องร้องเรียนได้รับการดำเนินการ 100% - งบบริหารจัดการไม่เกิน 5% ของงบการจัดบริการทั้งหมด (ที่ไม่รวมงบลงทุน) |