|
|
|
|
|
กระเทียม
ชื่อวิทย์ Allium sativum Linn.
ชื่อวงศ์ Alliaceae
ชื่ออื่น หอมเทียม(์N), ปะเข้ว้า(แม่ฮ่องสอน)
|
สมาคมผู้ประกอบโรคศิลปแผนไทย
เชียงใหม่
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

กายนี้อยู่ด้วย ศีลธรรม
ประพฤติชอบกอรปกรรรม นอบน้อม
แต่จิตอย่าคิดถลำ ติดหล่ม โลกเลย
ตมสลุตฤาอาจย้อม ลูบไร้ ปทุมมาลย์
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
คุณค่าทางโภชนาการของกระเทียม |
กระเทียม ๑๐๐ กรัม มีคุณค่าทางโภชนาการดังต่อไปนี้
พลังงาน
ความชื้น
โปรตีน
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรท
เส้นใยอาหาร
แคลเซี่ยม
ฟอสฟอรัส
เหล็ก
วิตามินเอ
ธัยอะมิน
ไรโบฟลาวิน
ไนอะซิน
วิตามินซี
|
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ |
๑๔๐
๖๓.๑
๕.๖
๐.๑
๒๙.๑
๐.๙
๕
๑๔๐
๕.๔
๕
๐.๑๗
๐.๐๒
๔
๑๕ |
แคลอรี่
กรัม
กรัม
กรัม
กรัม
กรัม
มิลลิกรัม
มิลลิกรัม
มิลลิกรัม
หน่วย
มิลลิกรัม
มิลลิกรัม
มิลลิกรัม
มิลลิกรัม
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ความลับของกระเทียม
๑. แก้ปากเหม็น
คั้นผสมน้ำอุ่นและเกลือเล็กน้อย อมบ้วนปาก ฆ่าเชื้อโรคในปาก
๒. แก้ไขมันอุดตันในเส้นเลือด
ดองน้ำผึ้ง ๑ อาทิตย์ นำมารับประทานวันละ ๕-๑๐ กลีบ
๓. ลดความดันโลหิต
กินในรูป แคปซูล ๓ เม็ด ๓ เวลา
๔. แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
ทานกระเทียมสด ๕-๗ กลีบ
๕. แ้ก้โรคหัวใจ
กระเทียมละลายลิ่มเลือด ห้ามการจับตัวเป็นก้อนของเลือด ช่วยให้การไหล
เวียนของเลือดดี
๖. แก้ไข้หวัด และไข้หวัดใหญ่
๗. แก้ภูมิแพ้ หอบหืด เสริมภูมิต้านทาน
ทานประจำวันละ ๓-๙ กลีบ
๘. แก้กลาก เกลื้อน
ขยี้บริเวณที่เป็นกลากเกลื้อน
๙. แก้ฝ้าที่ลิ้น ซึ่งเกิดจากเชื้อรา
ทุบแหลก ละลายน้ำอุ่น แล้วอมบ่อยๆ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
๑๐. ลดน้ำตาลในเลือด
๑๑. บำรุงเส้นผมและหนังศีรษะ
๑๒. ต่อต้านและบำบัดสารพิษนิโคติน
๑๓. ขับพยาธิในลำไส้
๑๔. แก้ปอดบวม วัณโรค
๑๕. แก้อัมพาต ลมเข้าข้อ
๑๖. โขลกสระผม ป้องกันผมหงอก
๑๗. ทาถูนวดแก้อาการเด็กชักกระตุก
๑๘. โขลกพอกหัวเหน่าแก้ขัดเบา
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
กระเทียมน้ำเชื่อม
ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ
|

-------------------------------------------------------------------------------
ตัวยา วิธีใช้
๑. กระเทียมสด ๑/๒ กิโลกรัม ๑. รับประทาน ๓ ครั้งๆละ๑/๒ช้อนโต๊ะ
๒. น้ำผึ้ง/น้ำเชื่อม ๑ ถ้วยแก้ว
วิธีทำ สรรพคุณ
๑. ล้างกระเทียมให้่สะอาด ทุบพอแตก ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ
แล้วนำไปบรรจุในขวดโหล
๒. เติมน้ำผึ้งหรือน้ำเชื่อมลงไป ปิดฝา
ให้่สนิท ๑ สัปดาห์
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

เพียงครั้งหนึ่งมีไหมในชีวิต
ที่ฝึกจิตยิ้มรับความสับสน
ยัีงหยัดยืนฝึนโลกที่โศกล้น
คงกมลมิหวั่นสั่นสะเทือน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

เป็นการง่ายยิ้มได้ไม่ต้องฝืน
เมื่อชีพชื่นเหมือนบรรเลงเพลงสวรรค์
แต่คนที่ควรชมนิยมกัน
ย่อมใจมั่นยิ้มได้เมื่อภัยมา
|
|
|
|
|
|
|
|