ช่วยรักษาพยาบาล(โดยยุวนารี)เป็นกำลังป้องกันจังหวัดร่วมกับกำลังตำรวจและยุวชนทหารซึ่งทำหน้าที่ไปยึดสะพานป้องกัยข้าศึกและเตรียมการทำลายสะพาน
เช่นเดียวกับทหารช่าง เป็นต้น
ปีพศ.2486 ได้ประสานโครงการยุวชนทหารกับลูกเสือเข้าไว้ด้วยกันโดยออกพรบ.ยุวชนทหารแห่งชาติ ปี2486 กำหนดให้องค์กรยุวชนทหารแห่งชาติ ให้รมต.
กท.เป็นรองผบ.ฝ่ายยุวชนทหาร และรมต.ศึกษาธิการเป็นรอง ผบ.ฝ่ายลูกเสือ กิจการยุวชทหารแห่งชาติกำลังพัฒนาไปด้วยดี มีอันต้องล่มสลายไปเมื่อสิ้น
สงครามโลกครั้งที่2 เพราะเหตุผลทางการเมืองที่ว่ากิจกรรมยุวชนทหารเป็นกิจกรรมของลัทธิเผด็จการ จึงทำให้กรมยุวชนทหาร แปรสภาพเป็นกรมเตรียมการ
 และจัดตั้งเป็นกรมการรักษาดินแดนในปี2491

กรณีพิพาทกับอินโดจีนฝรั่งเศสด่านยุวชนทหาร ครั้นเมื่อทหารฝรั่งเศสได้ทำการระรานชายแดนโดยการยิงปืนกลข้ามแม่น้ำโขง ทำให้ ประชาชนถูกกระสุน
จากครั้งนั้นเสียชีวิตเป็นจำนวนมากทั้งเผาผลาญชานเรือน และสั่งเครื่องบินบุกเข้ามาในเขตแดนไทยหลายครั้ง  จึงได้มีการระดมยุวชนทหารหน่วยที่57
 จังหวัดหนองคาย และหน่วยที่58 จังหวัดนครพนม เข้ารักษาตามแนวลำแม่น้ำโขง รักษาสถามที่สำคัญตามจุดยุทธศาสตร์ และลาดตระเวณรักษาความสงบในท้องถิ่น
จนถึงวาระที่ ร.พัน17และร.พัน21 จ.อดร-ขอนแก่น ได้เข้ามาตรึงกำลังที่ชายแดนตามแผนการรบ ยุวชนทหารจึงพ้นหน้าที่นี้ไป

    การปฎิบัติงานของยุวชนเต็มไปด้วยความกล้าหาญ ทรหดอดทนและเข้มแข็ง ไดเรับการชมเชยจากประชาชนยในท้องถิ่นดดยทั่วกัน

อวสานของยุวชนทหาร
ใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่2 กรมยุวชนทหารได้แปรสภาพไปเป็นกรมเตรียมการทหาร และเมื่อสงครามสิ้นสุดลง เหตุการทาง
การเมืองได้แปรผันไป ยุวชนทหารที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ฝักใฝ่ใส่ใจสร้างสรรเพื่อจรรโลงชาติ เป็นพลังงานของกองทัพและพลเมืองที่เข้มแข็ง
 ซึ่งดำเนินงานมาตั้งแต่ปี2478 ได้สิ้นสุดลงเมื่อปี2486 แต่หน่วยยุวชนทหารที่บำเพ็ญประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน ต้องการประกอบวีกรรม
ไว้จนปรากฎในเอกสารราชการหลายฉบับ และมีผู้กล่าวขนต่อกันมา จนปัจจุบันนี้คือ
1).กรณีพิพาทกับอินโดจีนฝรั่งเศส
1.1หน่อยฝึกยุวชนทหารที่ 57 ประจำ จังหวัด หนองคาย
1.2หนย่วยฝึกยุวชนทหารที่ 58 ประจำ จังหวัด นครพนม
1.3หน่วยฝึกยุวชนทหารที่ ุๅ ประจำจังหวัดสกลนคร
1.4 หน่วยฝึกยุวชนทหารที่ 57 และ58 ทั้ง2หน่วยตั้งอยู่ใน เขตชายแดนที่เป็นเขตปลอกทหาร
2).กรณรีสงครามมหาเอเชียบูรพา
2.1หน่วยฝึกขุวชนทหารที่52 ประจำจังหวัดชุมพร
2.2 หน่วยฝึกยุวชนทหารที่55 ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช
2.3หน่วยฝึกยุวชนทหารที่ 66 ประจำจังหวัดปัตตานี
หน่วยฝึกยุวชนทหารทั้ง3หน่วย ได้สร้างวีรกรรมอย่างน่าประทับใจในการ ป้องกันรักษาดินแดนมาตุภูมิของตนจนสุดชีวิต อย่างไรก้อตาม เกียรติประวัติ
คุณความดีของยุวขนทหารของท่านเหล่านี้ จะอยู่ตรึงตาตรึงใจและเป็นประวัติศาสตร์ไทยไปอีกนานเท่านยาน ซึ่งเป็นอนุสรณ์เตือนใจยุวชนรุ่น
หลังต่อไป

วีรกรรมยุวชนทหารที่จังหวัดชุมพร
เมื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2484
ญี่ปุ่นสามารถยกพลเรือนขึ้นบกที่จังหวัดชุมพรก่อนเช้าตรู่ วันที่8 ธ.ค.2484 และเคลื่อนกำลังพลต่อไปเมื่อเวลา 6.00น.
1.บริเวณชานแหลมดิน ญี่ปุ่นเคลื่อนกำลังพลประมาณ 1กองร้อยจัดรูปขบวนมุ่งไปทางตะวันตก สู่ถนนสายชุมพรปากน้ำ กำลังส่วนนี้เป็นกำลัง
ระวังหน้า ได้เคลื่อทัพไปทางตัวีนออกเฉียงเหนือเมื่อเวลาประมาณ 17.00น. ส่วนล่างทัพได้เคลื่อเข้ามาทางของถนนสายชุมพร-ปากน้ำ ห่างจากสะพานท่านางสังข์ ประมาณ
400เมตร กำลังที่เหลือได้เครลื่อนที่ต่อไปยังสะพานท่านางสังข์ แล้วรอกำลังอีกประมาณ1กอง ที่เคลื่อนพลเข้าสู่ตัวเมือง
2.บริเวณชานคอสน
กำลังส่วนหน้าของญี่ปุ่น หลังจากเคลื่อนที่กำลังเข้าสู่หาดชานคอสน ได้เคลื่อนที่ต่อไปทางใต้ตามแนวชายฝั่ง ผ่านบ้านร่องน้อย แล้วตัดเข้าสู่หัว
โค้งของถนนชุมพร-ปากน้ำ (ประมาณหลักกม.ที่ 95) กำลังส่วนหน้าได้เคลื่อนมาถึงยังวัดท่ายางใต้ และรวมพลเสร็จเมื่อเวลา 17.30น. และได้เดินทาง
ไปสมทบกับกำลังส่วนหน้า ผ่านทางถนนสายปากน้ำ - ชุมพร และไปสมทบที่บริเวณสะพานท่านางสังข์ต่อไป หลวงจรูญประสาน ข้าหลวงประจำจังหวัดชุมพร
ได้ข่าวการยกพลของทหารญี่ปุ่น้มื่อเวลาประมาณ 16.00น. จึงสั่งการกรรมการจังหวัด และได้สั่งการ พ.ต.ต. หลวงจิตการุณราษฎร์ และรอ.ถวิลนิยมเสน
ให้จัดกำลังไปต้านทานทหารญี่ปุ่น

    Source: geocities.com/tokyo/spa/8774

               ( geocities.com/tokyo/spa)                   ( geocities.com/tokyo)