TRANSLATOR000
◊ home ♠ about translator ♣ payment ♦ ตัวอย่างแปล contact us amateur radio packet radio ตำรับยาไทย International Chat เรียนการแปลที่นี่ บทเรียน ๑





	บทฝึกแปลที่ ๑๐
	ใจความปฐมเทศนา ตอนที่ ๒ จากพระนิพนธ์สมเด็จพระสังฆราช
 
	ตอนที่ ๒ ได้ทรงแสดงธรรมะที่ได้ตรัสรู้ เมือละทางทั้ง ๒ ข้างต้น
	และมาเดินอยู่ในททงมัชฌิมาปฏิปทาคือข้อปฏิบัติเป็นทางกลาง
	ซึ่งมีองค์ประกอบทั้ง ๘ นั้น อันได้แก่อริยสัจจ์ ๔  คำว่า อริยสัจ
	แปลว่า ความจริงของบุคคลผู้ประเสริฐก็ได้  แปลว่าความจริง
	ที่ทำให้บุคคลเป็นคนประเสริฐก็ได้ อริยสัจจ์ ๔ ได้แต่

	๑.   ทุกข์ ในพระสูตรนี้ได้ชี้ว่าอะไรเป็นทุกข์ไว้ด้วย คือ ชี้ว่า
	ความเกิดเป็นทุกข์ ความแก่เป็นทุกข์ าความตายเป็นทุกข์
	ความโศกคือแห้งใจ ปริเทวะคือคร่ำครวญ รัญจวนใจ ทุกขะ
	คือทุกข์กาย เช่นป่วยไข้ โทมนัส คือทุกข์ใจ อุปายาสคือคับ
	แค้นใจ เป็นทุกข์ อัปปิยสัมปโยค ความประจวบกับสิ่ง
	ที่ไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์ ปิยวิปโยค ความพลัดพรากจากสิ่ง
	ที่เป็นที่รัก เป็นทุกข์ ความปรารถนาไม่ได้สมหวัง เป็นทุกข์
	กล่าวโดยย่อ ขันธ์ที่ยึดถือไว้ทั้ง ๕ ประการเป็นทุกข์
	
	๒.   ทุกขสมุทัย  เหตุให้เกิดทุกข์ ในพระสูตรได้ทรงชี้ว่า
	ตัณหา คือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ อันมีลักษณะให้
	ซัดส่ายไปสู่ภพคือภาวะใหม่เสมอ ไปด้วยกันกับนันทิ
	ความเพลิดเพลิน ราคะ ความติด ความยินดี มีความ
	เพลิดเพลินเป็นอย่างยิ่งในอารมณ์นั้น ๆ  มี ๓ คือ
	กามตัณหา  
	ความดิ้นคนทะยานอยากไปในกาม คือได้แก่สิ่งที่น่ารัก
	ใคร่ปรารถนาพอใจ
	ภวตัณหา
	ความดิ้นรนทะยานอยากไปในภาพ คือความเป็นนั่นเป็นนี่
	วิภวตัณหา
	ความดิ่นรนทะยานอยากไปในวิภพ คือความไม่อยากเป็น
	นั่นเป็นนี่

	๓.   ทุกขนิโรธ ความดับทุกข์ ในพระสูตรนี้ทรงฃี้ว่า คือ ดับ
	ตัณหาเสียได้หมด สละตัณหาเสียได้หมด ปล่อยคืนตัณหา
	เสียได้หมด ไม่อาลัยพัวพันอยู่ในตัณหาทั้งหมด

	๔.   ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เรียกสั้น ๆ ว่า มรรค ได้แก่
	มรรคอันมีองคื้ ๘ ประการดังกล่าวข้างต้น

	In  the second part he told the Five Ascetics the Dhamma
	by which he was enlightened. This was the result of his
	avoidanceof both extremes and teading what he called
	the Middle Path. That Dhamma is called the Four Noble
	Truths. This may imply either the Truths of teh Noble
	persons or the truths that ennnoble a person. Those 
	Truths are:
		The First Noble Truth od Dukkha, generally 
	translated Suffering.While elaborating its manifestations,
	the Buddha pointed to the phenomena of birth, old age,
	death, grief, lamentation, illness, sorrow, despair,to 
	associate with the unpleasant, to be dissociated from
	the pleasant or the beloved and finally, as a synthesis,
	not to get what is desired for. In summary, the Five
	Aggregates of Existence that are attached are( the
	seat of) Suffering.
		The Second Noble Truth of Dukkhasamudays, 
	the Cause Suffering. The Sutta pointed out to Tanha or
	Desire as the cause thereof. It drags the person to 
	re-becoming or re-existence, being thereby accompanied
	with Nandi or Enjoyment and with greed or lustful
	emotions. This Desire is of three kinds viz. the Desire to
	have object of sensual pleasure, the Desire to be or to have
	nor to be ( as opposed to the second category).
		The Third Noble Truth of Dukkhankirodha, 
	the Extinction of Suffering. According to the Sutta,
	it is made possible through the disgorging of Desire
	with nothing of its remnants left, the parting with, the
	giving up of and the deliverance from Desire, with no
	lingering attachment to it.
		The Fourth Noble Truth of
	Dukkhanirodhagaminipatipada or,in short, of Magga.
	This is what is called the Noble Eightfold Path as
	afore-mentioned and already elaborated.
 
สนใจติดต่อ อีเมล์ : hs4dor19@hotmail.com
หรือโทร : 01-8457816 โทรสาร :02-6522264
http://www.oocities.org/translator000