ถึงแม้ทุกวันนี้จะใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเขียนแบบ
แต่ก็หลีกเลี่ยงที่จะใช้เครื่องมือเขียนแบบที่ใช้มือเขียนไม่ได้
เนื่องจากการลืมหรือตกหล่นขณะเขียนด้วยโปรแกรมเขียนแบบภายหลังพริ้นงานแล้ว
ดังนั้นกระดานเขียนแบบ
ดินสอ ฉากปรับองศา
ยางลบ ฯลฯ
เรายังคงต้องใช้ต่อไป
หัวข้อเครื่องมือที่ใช้เขียนแบบนี้จะเน้นเฉพาะเครื่องมือที่สำคัญและจำเป็นที่ต้องใช้ร่วมกับ
โปรแกรมเขียนแบบ
ใช้สำหรับรองกระดาษที่จะเขียน
ไม่จำเป็นต้องทำจากไม้
จะใช้วัสดุอื่นทำก็ได้
เช่น พลาสติก กระจก
ใยสังเคราห์อื่น ๆ ที่
เป็นแผ่น
จุดสำคัญของกระดานรองเขียนแบบคือ
ต้องมีผิวหน้าเรียบ
สำหรับขนาดของกระดานรองเขียนแบบควรเลือกให้ขนาดที่เหมาะกับกระดาษที่ใช้ในการเขียนเป็นส่วนใหญ่คือ
ขนาด
กระดาษชนิดใหญ่มาตรฐานที่เรียกขนาดอิมพีเรียล
ซึ่งกระดานรองเขียนแบบจะต้องมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระดาษตามสมควร
เผื่อ
ไว้ความสะดวกอื่น ๆ ด้วย
มีลักษณะและชนิดแตกต่างกันออกไปตามหน้าที่ใช้สอยดังนี้
กระดาษร่าง
มีลักษณะเหมือนกระดาษลอกลายทั่วไป
ีความทึบน้อยจนมองทะลุผ่านถึงแบบที่ร่างไว้ข้างใต้สำหรับ
ขนาดของกระดาษมีตั้งแต่
1-2 อิมพีเรียล
กระดาษปอนด์ มีลักษณะเหมือนกระดาษวาดเขียนทั่วไป
แต่มีความหนาบางต่างกันหลายขนาดตามน้ำหนักคือตั้งแต่
80-100 ปอนด์
ส่วนขนาดกว้างยาวของแผ่นกระดาษมีขนาดมาตรฐานเรียกว่าขนาด
"อิมพีเรียล"
กระดาษไข กระดาษชนิดนี้มีเนื้อเรียบแข็งและมีความขุ่นน้อยกว่ากระดาษร่าง
บางทีก็เรียกกันว่ากระดาษแก้ว
และผลิด
ออกขายเป็นม้วน
มีความยาวประมาณ 30 เมตร
กว้าง 1.10 ม.
มีความหนาบางต่างกันตามเบอร์ตั้งแต่
60,70,80,90
และ 100
ยังมีกระดาษไขอีกชนิดหนึ่งทำจากพลาสติก
ซึ่งถูกน้ำจะไม่หดตัวหรือย่น
แม้การพิมพ์ก็ได้ผลดี
ไม่แตกต่างกับกระดาษไข
ธรรมดา
ผิวหน้าทางด้านหนึ่งเป็นผิวด้านจับดินสอและหมึกได้ดี
แต่อีกด้านจะลื่น
อายุการใช้งานสั้น
เพราะมักกรอบแตกเร็วกว่า
กระดาษไขธรรมดามาก
กระดาษอื่น ๆ ที่ใช้ในการเขียนแบบ
เช่น กระดาษสี กระดาษขาว-เทา
และกระดาษสำหรับพิมพ์แบบ
ดินสอเขียนแบบมีหลายชนิด
ชนิดทำเป็นแท่งหุ้มด้วยไม้
เมื่อต้องการใช้ก็เหลาไม้ออกให้ใส้ภายในปรากฎมากน้อยตามต้อง
การ บางชนิดใช้แถบกระดาษหุ้มใส้ดินสอไว้เมื่อต้องการใช้ก็ลอกแถบกระดาษออก
ชนิดเป็นด้ามหุ้มใส้ดินสอถาวรแต่ใช้เฉพาะใส้
ดินสอสอดไว้ภายในมีกลไกเลื่อนใส้ดินสอเข้าออกมากน้อย
หรือเปลี่ยนใส้ใหม่ได้ตามต้องการ
ดินสอที่ใช้ในการเขียนแบบนั้น
มีส่วนผิดกันอยู่บ้าง
สำหรับใส้ดินสอตามธรรมดามีความแข็งและอ่อนต่างกันตามมาตรฐาน
สากล 17 ขั้น
เพื่อใช้สำหรับความประสงค์ต่าง
ๆ กัน
และมีรหัสบอกความแข็งอ่อนไว้ดังนี้
อ่อนมาก
B |
อ่อน
B |
ปานกลาง
F,HB |
แข็ง
H |
แข็งมาก
H |
6B-4B |
3B-B |
F,HB,H |
2H-4H |
5H-9H |

|
 |

|
ที่เหลาใส้ดินสอ
(เหลาเฉาะใส้) |
ความเข้มและอ่อนของดินสอ |
|
|
ดินสอแบบกดที่มีขนาดตั้งแต่
0.3 - 1.0 |
|
ตารางชนิดเส้นที่ใช้เขียนแบบกับความหนาของดินสอที่เหมาะสม |
|
|
CONSTRUCTION
LINES |
3H,2H |
GUIDE
LIN |
3H,2H |
LETTERING
LINES |
H,F,HB |
DIMENSION
LINES |
2H,H |
LEADER
LINES |
2H,H |
HIDDEN
LINES |
2H,H |
CENTER
LINES |
2H,H |
PHANTOM
LINES |
2H,H |
STITCH
LINE |
2H,H |
LONG
BREAK LINES |
2H,H |
VISIBLE
LINES |
H,F,HB |
CUTTING
PLANE LINE |
H,F,HB |
EXTENSION
LINES |
2H,H |
FREEHAND
BREAK LINES |
H,F,HB |
สภาพอากาศในเมืองไทยนับเป็นอิทธิพลอย่างหนึ่ง
ที่ทำให้ต้องมีการปรับระดับขั้นของดินสอตลอดจนเทคนิคการเขียน
แบบให้พอเหมาะกัน
เส้นดินสอบางชนิดที่เขียนลงบนกระดาษไข
และต้องการพิมพ์ต่อไปจะต้องมีคุณสมบัติทึบแสงด้วย
เครื่องมือเขียนเส้นทางตั้ง-ทางนอนและทแยงมุม
|

|

|
การเขียนเส้นในแนวนอน
เริ่มด้วยให้ดินสอทำมุมกับกระดาษ
60°
ขณะลากเส้นให้หมุนดินสอด้วยอย่างช้า
ๆ |
การเขียนเส้นในแนวตั้ง
ก็เช่นกันทำมุมกับกระดาษ
60°
ขณะลากเส้นให้หมุนดินสอด้วยอย่างช้า
ๆ |
|