![]() |
![]() |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
||
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
||
![]() ![]() ![]() |
|
|
![]() ![]() |
YEARS
OF VW 1 9 4 9 - 1 9 5 5 1 9 5 6 - 1 9 6 4 Page 3 : 1 9 6 4 - 1 9 7 1 |
![]() ![]() |
|
: 1964 : 1965 : 1966 : 1967 : 1968 : 1969 : 1970 : 1971 : รถเต่าทองผลิตขึ้นมาขายตั้งแต่สมัยสงครามโลกเป็นต้นมา แต่รถเริ่มมาแพร่หลายตั้งแต่ปี 1 9 5 4 ผู้ที่ไม่คุ้นเคย กับรถโฟล์คจริงๆ แล้วยากที่จะบอกได้ว่าเป็นรถรุ่นไหน รถโฟล์คเป็นรถที่ทนทานเชื่อถือได้อย่างไรก็ตามรถที่ผลิต ออกมาแต่ละรุ่นนั้นยังมีข้อบกพร่องบางประการประจำรุ่น จึงขอเล่าวิวัฒนาการ และ ข้อบกพร่องของรถรุ่นต่างๆ ตั้งแต่ต้น จนมาถึงรุ่นสุดท้าย เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ที่สนใจ จะได้เลือกซื้อรถรุ่นเก่ามาใช้ได้ถูกต้องการสังเกตรูปพรรณ ของรถโฟล์คว่าเป็นรุ่นไหนนั้นไม่มีอะไรเชื่อถือได้ เท่าตรวจดูหมายเลขชัสซีซึ่งพิมพ์ติดอยู่ที่สันกลางใต้เบาะที่นั่งหลัง และที่แผ่นป้ายอลูมิเนียมหลังที่วางยางอะหลั่ยอีกแห่งหนึ่ง รถบางคันใช้ตัวถังเก่าแต่เปลี่ยนเครื่องยนต์ใหม่ ดังนั้น หมายเลขเครื่องยนต์ที่พิมพ์อยู่ใต้ฐานรองไดนาโมชาร์จ ควรนำมาประกอบการพิจารณาด้วย
|
![]() |
1
9 6 4 เต่าทองปี 1964 รถปีนี้ทำเป็นหลังคาเปิดได้ เพราะเป็นปีแรกที่โรงงานเปลี่ยนจากหลังคาเปิดผ้าใบ เป็น หลังคาแผ่นเหล็ก เวลาปิด เปิดใช้หมุนคันหมุนคันกดแตรที่พวงมาลัย เปลี่ยนจากครึ่งวงกลม เป็น ก้านตรงๆ ไฟส่องป้ายเปลี่ยนจาก กระเปาะกลมโดยขยายรีกว้างขึ้น วัสดุที่ใช้หุ้มเบาะเปลี่ยนใหม่ เครื่องยนต์ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากปี 1963ชัสซีหมายเลข 5,677,119 ถึง 6,502,399 |
||
|
|||
![]() |
1
9 6 6 เต่าทองป 1966 ในปีนี้โรงงานเสนอรถเต่าทอง 1,300 ซีซี ออกสู่ตลาดควบคู่เต่าทอง 1,200 ซีซี เดิมเครื่องยนต์ 1,300 ซีซีเพิ่มกำลังเครื่องยนต์จาก 40 แรงม้า เป็น 50 แรงม้า กระทะล้อฉลุเป็นรูไว้ระบายอากาศ เพื่อไม่ให้เบรคร้อน ฝาโครเมี่ยมครอบล้อทำแฟบลง เพื่อไม่ให้ครูดกับถนนเครื่องยนต์ 1,300 ซีซี มีช่วงชักของลูกสูบยาวกว่ารุ่นก่อนเครื่องยนต์ รุ่นนี้จึงโมดิฟายเป็น 1,500 ซีซี หรือ 1,600 ซีซีได้ง่ายเพียงเปลี่ยนลูกสูบและกระบอกสูบรุ่นนี้เริ่มติดแบร์ริ่งที่ราวลิ้นฝาสูเปลี่ยนแปลงไปจากรุ่นก่อน Regulator หรือ คัทเอาท์ไดนาโมชาร์จ ใช้ทรานซิสเตอร์ จึงต้องย้ายจากห้องเครื่องเข้าไปอยู่ที่นั่งเบาะหลังเพื่อหนีความร้อน คันบีบแตรกลับไปใช้แบบครึ่งวงกลมอีก มีไฟสัญญาณกระพริบ4ทางติดเข้าไปเป็นอุปกรณ์ติดรถ ไฟดิ๊พสูงต่ำเปลี่ยนจากที่พื้นมาอยู่ที่ก้านไฟเลี้ยวชัสซีหมายเลข116,000,001 ถึง 116,1,021,298 |
||
|
|||
![]() |
1
9 6 8 เต่าทองปี 1968 ปีนี้โรงงานผลิตเต่าทองออกมาหลายแบบให้เลือก เริ่มต้นด้วยรถ1,200 ซีซี รุ่นประหยัดโรงงานตัดเครื่องประดับเช่น คิ้วโครเมี่ยมออก 1,300 ซีซี 1,500 ซีซีสำหรับรุ่น 1,500 ซีซี โรงงานเสนอรุ่นเกียร์กึ่ง Automaticใ ห้ลูกค้าเลือกตามใจชอบ รุ่นนี้สังเกตง่ายตรงที่กันชนเปลี่ยนเป็นเหล็กแผ่นเดียวไม่มีเหล็กกลมโค้งประดับอย่างรุ่นก่อนๆ ช่องเติมน้ำมันเลื่อนมาไว้ข้างนอกด้านขวามือของตัวรถ &n มือจับประตูเปลี่ยนเป็นแบบกดไกแทนกดปุ่ม ลูกบิดภายในเป็นแบบพลาสติกสีดำหุ้มชัสซีหมายเลข 118,000,001 ถึง 118,1,016,098 |
||
|
|||
![]() |
1 9 7
0 เต่าทองปี รถรุ่นนี้จุดเด่นที่สังเกตได้ง่ายคือครีบฉลุระบายอากาศที่ฝาครอบเครื่อง ยนต์ท้ายรถ รถที่ผลิตในปีนี้โรงงานปรับเครื่องยนต์จาก 1500 ซีซี& เป็น 1600 ซีซีกำลังเครื่อง ยนต์เพิ่มจาก 35 แรงม้า เป็น 57 แรงม้าไฟเลี้ยวหน้ารถและท้ายรถขยายใหญ่ออกไปอีก และ มีกรอบพลาสติกให้แสงไฟส่องออกไปทางด้านข้างของเรือนไฟเลี้ยวด้วย ชัสซีหมายเลข100,200,001 ถึง 110,3,097,089 |
||
|
|
||
|
|||
: HOME
: NEWS : HISTORY : GALLERRY
: SERVICES : DOWNLOAD
: LINKS : |