ฟิสิกส์
ไฟฟ้ากระแส |
|
การนำไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้า เป็นตัวกลางให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน การนำไฟฟ้า เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนอิสระ ไอออนบวก ไอออนลบ กระแสไฟฟ้าในตัวนำ I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) Q = จำนวนประจุทั้งหมด มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ t = เวลาที่อนุภาคเคลื่อนที่ผ่าน มีหน่วยเป็นวินาที n = จำนวนอิเลคตรอนอิสระในหนึ่งหน่วยปริมาตร ของตัวนำ e = ประจุไฟฟ้าของอิเลคตรอน = 1.6x10-19 คูลอมบ์ v = ความเร็วของอิเลคตรอนในตัวนำ หน่วยเป็น เมตร/วินาที A = พื้นที่ภาคตัดขวางของตัวนำ หน่วยเป็น ตารางเมตร ทิศของกระแสไฟฟ้าจะมีทิศทางไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้า หรือจากจุด ที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำ แต่จะมีทิศทางตรงข้ามกับกระแสอิเลคตรอน(ประจุลบ) กฎของโอห์ม "เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน ในตัวนำ จะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง ปลายทั้งสองของตัวนำนั้น" V = IR V = ความต่างศักย์ มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) R = ความต่านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม
ความต้านทานและสภาพต้านทาน R = ความต้านทาน
A = พื้นที่หน้าตัด มีหน่วยเป็นตารางเมตร (m2) ค่าสภาพต้านทานของโลหะแต่ละชนิดจะมีค่าไม่เท่ากัน แต่ชนิดเดียวกันจะเท่ากันเสมอ ความนำไฟฟ้าและสภาพนำไฟฟ้า สารใดที่มีความต้านทานมากจะยอมให้กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านได้น้อย แสดงว่าสารนั้นมีความนำไฟฟ้าน้อย ความนำไฟฟ้าจะเป็นส่วนกลับของความต้านทาน ความนำไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า โดยสารใดที่มีสภาพต้านทานมาก จะมีสภาพนำไฟฟ้าน้อย จะเป็นส่วนกลับของสภาพต้าน ทาน มีหน่วยเป็นซีเมนต์ต่อ เมตร สภาพนำไฟฟ้า อุณหภูมิกับความต้านทาน อุณหภูมิยิ่งสูงความต้านทานก็จะมากขึ้น ซึ่งจะเป็น ไปตามความ สัมพันธ์ R = ความต้านทานที่อุณหภูมิ t oC R0 = ความต้านทานที่อุณหภูมิ 0 oC t = อุณหภูมิ oC
การต่อตัวต้านทาน การต่อตัวต้านทาน แบ่งออกเป็น 3 วิธีคือ 1. การต่อแบบอนุกรม เป็นการนำเอาตัวต้านทานมา ต่อกันตามยาว R1 , R2 , R3 - ความต้านทานที่นำมาต่อแบบอนุกรม V1 , V2 , V3 - ความต่างศักย์ที่วัดได้บน R1 , R2 , R3 I1 , I2 , I3 - กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R1 , R2 , R3 สรุปได้ดังนี้ 1. Rรวม หรือ RAB = R1 , R2 , R3 2. Iรวม หรือ IAB = I1 = I2 = I3 3. Vรวม หรือ VAB = V1 + V2 + V3 = I1R1 + I2R2 + I3R3 2. การต่อแบบขนาน เป็นการนำความต้านทานแต่ละ ตัวมาเรียงซ้อนกัน โดยจะไปรวมกันที่ปลายแต่ละข้าง R1 , R2 , R3 = ความต้านทานที่นำมาต่อแบบขนาน I = กระแสรวมที่ไหลเข้า VAB = ความต่างศักย์รวม สรุปได้ดังนี้ 2. Iรวม = IAB = I1 + I2 + I3 3. Vรวม = VAB = V1 = V2 = V3 ดังนั้น I1R1 = I2R2 = I3R3 3. การต่อแบบ Wheatstone Bridge ประกอบด้วยความ ต้านทาน 5 ตัว ถ้าวงจรสมดุล จะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่าน R5
แรงเคลื่อนไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า เป็นแรงดันไฟฟ้าของเซลล์ที่จะดัน ให้กระแสไฟ ฟ้าไหลได้ครบวงจร E = VR + Vr และ V = IR E = I (R + r) E = แรงเคลื่อนไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) I = กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร มีหน่วย เป็นแอมแปร์ R = ความต้านทานภายนอก มีหน่วยเป็นโอห์ม r = ความต้านทานภายใน มีหน่วยเป็นโอห์ม การต่อเซลไฟฟ้ากระแสตรง 1. ต่อแบบอนุกรม Eรวม = E1 + E2 + E3 + E4 rรวม = r1 + r2 + r3 + r4 E = แรงเคลื่อนไฟฟ้า (ถ้ามีเซลต่อกลับขั้วต้องคิดเครื่อง หมายเป็นลบ(-) r = ความต้านทานภายใน n = จำนวนเซล R = ความต้านทานภายนอก 2. ต่อแบบขนาน Eรวม = E1 = E2 = E3 rรวม = กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 1. ในวงจรกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าทั้ง หมด ณ จุดหนึ่ง = กระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดนั้น I = I1 + I2 + I3 2. ในวงจรไฟฟ้าที่ครบวงจร ผลบวกทางพีชคณิตของ ผลคูณ ระหว่างกระแสไฟฟ้า กับความต้านทานในวงจรนั้น = แรงเคลื่อนไฟฟ้า รวมตลอดทั้งวงจรนั้น อุปกรณ์วัดทางไฟฟ้า 1. แอมมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ถูกดัดแปลงมาจากแกล แวนอมิเตอร์ จะมีความต้านทานน้อน เพื่อวัดกระแสได้ มาก ๆ ใช้วัดกระแสไฟฟ้าโดยการต่อแบบอนุกรม 2. โวลต์มิเตอร์ ใช้วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า โดยนำ ไปต่อแบบ ขนานกับวงจรโวลต์มิเตอร์ที่ดีจะต้องมีความ ต้านทานมากเพื่อกระแสไฟ ฟ้าผ่านได้น้อย Iรวม = IS = Ig Vรวม = VS + Vg = ISRS + IgRg V = I (RS + Rg) พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า W = พลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล Q = ประจุไฟฟ้าที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า V = ความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของเครื่องใช้ ไฟฟ้า I = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าในเวลา t วินาที R = ความต้านทาน t = เวลา กำลังไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ถูกเปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วย เวลา มีหน่วยเป็นวัตต์หรือจูล/วินาที P = กำลังไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า
|