ฟิสิกส์

HOME

ไฟฟ้ากระแสสลับ

ความต่างศักย์กระแสสลับ

Vm = ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด (V)

= อัตราเร็วเชิงมุม (rad/s)

t = เวลาขณะใดขณะหนึ่ง (s)

f = ความถี่ (Hz)

T = คาบ (s)

Im = ค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุด (A)

I = ค่ายังผลหรือค่ามิเตอร์ของกระแส

วงจรตัวต้านทาน

กระแส IR จะมีเฟสตรงกับ VR

IR = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน (A)

R = ค่าความต้านทาน

VR = ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวต้านทาน

Vm = ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด

วงจรตัวเก็บประจุ

กระแสไฟฟ้า IC มีเฟสนำหน้าความต่างศักย์ VC

อยู่ เรเดียน

IC = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวเก็บประจุ

C = ค่าความจุของตัวเก็บประจุ (ฟารัด)

VC = ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวเก็บประจุ (V)

XC = ความต้านทานเชิงความจุ

วงจรความเหนี่ยวนำ

กระแส IL จะมีเฟสตามหลังความต่างศักย์ VL

อยู่ เรเดียน

IL = ค่ากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวเหนี่ยวนำ

L = ค่าความเหนี่ยวนำ (เฮนรี่)

VL = ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวเหนี่ยวนำ (V)

XL = ค่าความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ

การต่อวงจรกระแสสลับ

1. ต่อแบบขนาน

Iรวม = IR + IC + IL

Vรวม = VR = VC = VL

2. ต่อแบบอนุกรม

Iรวม = IR = IC = IL

Vรวม = VR + VC + VL

Iรวม = ค่ามิเตอร์ของกระแสไฟฟ้ารวม (A)

Vรวม = ค่ามิเตอร์ของความต่างศักย์รวม (V)

ความต้านทานเชิงซ้อน (Z)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์

สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนำให้

เกิดสนามไฟฟ้าขึ้นรอบ ๆ และสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง

จะเหนี่ยวนำ ให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบ ๆ

โดยการเหนี่ยวนำจะเกิดอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นคลื่นแม่เหล็ก

ไฟฟ้าแผ่ออกไปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เรียงลำดับจากความถี่

ต่ำสุดไปสูงสุด ได้ดังนี้

คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ

รังสีอินฟาเรด แสง รังสีอุลตราไวโอเลต รังสี

เอกซ์ รังสีแกมมา

คุณสมบัติ

1. คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร

1.1 ระบบ A.M ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่น

ฟ้า (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์)

1.2 ระบบ F.M ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน

2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ สะท้อนจากผิวโลหะ

ได้ดีในการส่งสัญญาณอาศัยสถานีถ่ายทอดหรือใช้ดาวเทียม

และใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งวัตถุที่เรียกว่า

"เรดาร์"

3. รังสีอินฟาเรด มนุษย์รับรู้ในรูปความร้อน(ทางผิว

หนัง) ใช้ในรีโมทคอนโทล

4. แสง เกิดจากแหล่งที่มีความร้อนสูงสามารถมอง

เห็น

5. รังสีอุลตราไวโอเลต เมื่อกระทบกับสารเรืองแสง

จะให้แสงที่มองเห็นได้เมื่อกระทบบรรยากาศโลก

6. รังสีเอกซ์ เกิดจากการปลดปล่อยพลังงานของ

อิเลคตรอน

7. รังสีแกมมา เกิดจากการสลายตัวทางนิวเคลียสมี

ความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์