ฟิสิกส์
ไฟฟ้าแม่เหล็ก |
|
แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก แม่เหล็ก เป็นสารประกอบของเหล็กและออกซิเจน เป็นวัตถุที่ สามารถดูดสารแม่เหล็กบางชนิดได้ สนามแม่เหล็ก คือบริเวณหรือขอบเขตที่แม่เหล็กส่ง เส้นแรงแม่ เหล็กที่มีอำนาจการดึงดูดออกไปได้ถึง คุณสมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก 1. มีทิศออกจากขั้วเหนือเข้าสู่ขั้วใต้ 2. ถ้ามีเส้นแรงแม่เหล็กปริมาณมาก เส้นแรงแม่ เหล็กจะรวมกัน หรือต้านกันออกไปทำให้เกิดจุดสะเทิน ซึ่งเป็นจุดที่มีค่าความเข้มสนาม แม่เหล็กเป็นศูนย์ ฟลักซ์แม่เหล็ก คือ ปริมาณเส้นแรงแม่เหล็ก หรือจำ นวนของเส้น แรงแม่เหล็ก ใช้สัญญลักษณ์
ความเข้มสนามแม่เหล็ก (B) หมายถึง จำนวนเส้น แรงแม่เหล็กต่อ หน่วยพื้นที่ที่เส้นแรงแม่เหล็กตกตั้งฉาก B = ความเข้มของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น Tesla(T)หรือ Wb/m2
A = พื้นที่ที่ตกตั้งฉาก มีหน่วยเป็น ตารางเมตร (m2) แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก ขนาดของแรงกระทำ F = ขนาดของแรงที่กระทำต่ออนุภาค มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) q = ประจุของอนุภาค มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ v = ความเร็วของอนุภาค มีหน่วยเป็นเมตร/วินาที
ถ้าแรงกระทำต่ออนุภาคเป็นแรงลอเรนซ์ (Lorentz Force) เป็นแรงสู่ศูนย์ กลาง โดยแรงกระทำมีทิศตั้งฉากกับทิศ ของความเร็ว ทำให้อนุภาค เคลื่อนที่เป็นแนวโค้ง หรือ แบบวงกลม จะได้ แรงกระทำจากสนามแม่เหล็ก = แรง สู่ศูนย์กลาง sin 90o = 1 ดังนั้น m = มวลของอนุภาค มีหน่วยเป็น กิโลกรัม r = รัศมีความโค้ง มีหน่วยเป็นเมตร แรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดไฟฟ้า F = ขนาดของแรง หน่วยเป็น N I = กระแสไฟฟ้าในเส้นลวด หน่วยเป็น A B = ความเข้มสนามแม่เหล็ก หน่วยเป็น Wb/m2 หรือ T
โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำต่อขดลวดในสนามแม่เหล็ก M = โมเมนต์ของแรงคู่ควบในขดลวดมีหน่วยเป็น นิวตันเมตร N = จำนวนรอบของขดลวด B = ความเข้มสนามแม่เหล็ก A = พื้นที่หน้าตัดของขดลวด
แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) โมเมนต์ของแรงคู่ควบ = โมเมนต์ของแรงยืดหยุ่น ในสปริง k = ค่าคงตัวของสปริงรูปก้นหอย หน่วยเป็น นิวตัน-เมตร
ความไวของแกลแวนอมิเตอร์ แรงระหว่างลวดตัวนำ 2 เส้นขนานกัน k = ค่าคงที่ = 2x10-7 Wb/A-m r = ระยะห่างระหว่างลวดทั้งสอง แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในลวดตัวนำ E = แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ (V) B = ความเข้มสนามแม่เหล็ก (Wb/m2)
v = ความเร็วของการเคลื่อนที่ลวดตัวนำ (m/s) หม้อแปลง หม้อแปลงไฟฟ้า คือ เครื่องมือที่ใช้เพิ่มหรือลดความ ต่างศักย์ของ กระแสสลับให้สูงขึ้นหรือต่ำลง แรงเคลื่อน ไฟฟ้าจะแปรผันตามจำนวนรอบของขดลวด E1 = แรงเคลื่อนไฟฟ้าในขดลวดปฐมภูมิ E2 = แรงเคลื่อนไฟฟ้าในขดลวดทุติยภูมิ N1 = จำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ N2 = จำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ ประสิทธิภาพของหม้อแปลง |