![]() |
ffdjnรวมลิงค์เว็บภาษาไทย |
คำนิยาม คำนาม 5 ชนิด คำนามที่ได้จาก ภาษาบาลีและสันสกฤต คำนิยาม คำสรรพนาม 6 ชนิด คำนิยาม คำกริยา 4 ชนิด คำนิยาม คำวิเศษณ์ 10 ชนิด คำนิยาม บุพบทที่ไม่เชื่อมกับบทอื่น บุพบทที่เชื่อมกับบทอื่น คำนิยาม คำสันธานตามลักษณะการเชื่อม คำนิยาม อุทานบอกอาการ อุทานเสริมบท
|
ชนิดและหน้าที่ของคำกริยา ดดดดคำกริยา คือคำที่แสดงอาการ หรือบอกสภาพของนามหรือสรรพนาม ดดดดชนิดของคำกริยา คำกริยาแบ่งเป็น 4 ชนิด ได้แก่ 1. กริยาไม่ต้องมีกรรม ( อกรรมกริยา ) กริยาชนิดนี้แสดงอาการที่มีความบริบูรณ์แล้ว เช่น ดดดดดด- เด็ก หัวเราะดดดดดดดดดดดดดด - ไก่ ขัน ดดดดดด- น้อง นอนดดดดดดดดดดดดดดดด- นักกีฬา วิ่ง หากมีคำมาตามท้าย กริยาชนิดนี้ คำนั้นจะทำหน้าที่ขยาย ไม่ใช่กรรม เช่น ดดดดดด- เด็ก หัวเราะ เสียงดังดดดดดดดดด - ไก่ ขัน น่าฟัง ดดดดดด- น้อง นอน เปลดดดดดดดดดดดดด - นักกีฬา วิ่ง เร็ว 2. กริยามีกรรม ( สกรรมกริยา ) กริยาชนิดนี้ยังขาดความสมบูรณ์ในตนเอง ต้องมีนามหรือสรรพนามมารับข้างท้ายจึงจะได้ความครบถ้วน เช่น ดดดดดด- เด็ก กิน ดดดดดดดดดดดดดดดดด- เขา เห็น ดดดดดด- แม่ครัว ซื้อดดดดดดดดดดดดดดด - ฉัน ชอบ ดดดดประโยคข้างต้น ยังขาดความสมบูรณ์ เพราะกริยาข้างต้นทำให้ผู้อ่านสงสัยว่า กินอะไร, เห็นอะไร, ซื้ออะไร, ชอบอะไร หากมคำดังนี้ในใจ แสดงว่ากริยานั้นต้องมีกรรมมารับข้างท้าย เช่น ดดดดดด- เด็ก กิน ขนม ดดดดดดดดดดดดดร- เขา เห็น ฉัน ดดดดดด- แม่ครัว ซื้อ ปลาดดดดดดดดดดดด - ฉัน ชอบ เธอ ดดดดคำนามและสรรพนาม ที่อยู่หลังกริยาชนิดนี้ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค 3. กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม ( วิกตรรถกริยา ) คำกริยาชนิดนี้ต้องมีนามหรือสรรพนามมารับข้างท้ายจึงจะได้ความสมบูรณ์ แต่คำเหล่านั้นไม่ใช่กรรม กริยาชนิดนี้มีไม่มากควรจดจำ ได้รับ เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ ดดดดดด- คุณป้าของฉัน เป็น ครู ดดดดดดรดร- หนังสือเล่นนั้น เหมือน เล่มนี้ ดดดดดด- พจนีย์ คล้าย เธอ ดดดดดดดดดดดด- คะแนนสอบของสุพจน์ เท่า ฉัน ดดดดดด- ความสัตย์ คือ เครื่องหมายของคนดี ดดดดข้อสังเกต ถ้าพิจารณาจากประโยคจะต้องดูคำกริยาเป็นสำคัญ ถ้ามีกริยาตัวอื่นอยู่ด้วย คำ เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ อาจจะไม่ใช่กริยา เช่น ดดดดดด- เขาทำงาน เหมือน เครื่องจักร ดดดดประโยคนี้ มี ทำ เป็นกริยา เหมือน เป็นคำขยาย เครื่องขยาย จึงไม่ใช่สาวนเติมเต็ม 4. คำช่วยกริยา ( กริยานุเคราะห์ ) เป็นคำกริยาที่ช่วยให้กริยาแท้มีความชัดเจนขึ้น แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ก ) อยู่หน้ากริยา เช่น คง, คงจะ, คงต้อง, ควร, ควรจะ, เคย, เคย...แล้ว, จง, จะ, จะต้อง, ช่วย, ได้, ได้...แล้ว, ถูก, น่าจะ, น่าจะต้อง, โปรด ฯลฯ เช่น ดดดดดด-ฝน คงจะ ตก ดดดดดดดดดดดดดดด- เขา ควรจะ มา แล้ว ดดดดดด- คุณพ่อ จะต้อง ไปต่างจังหวัด ดดรดร- เด็ก น่าจะ นอนตั้งแต่หัวค่ำ ข ) อยู่ท้ายประโยคที่ใช้พูด เพื่อเสริมความให้ชัดเจนขึ้น ได้แก่ ซิ, ซะ, นะ, น่ะ, ล่ะ, ละนะ, เถิด, สิ, ดอก, หรอก ฯลฯ เช่น ดดดดดด- เธอมาหาฉันหน่อย นะ ดดดดดดดดด- เธอมากินข้าว สิ ดดดดดด- ฉันไป ละนะดดดดดดดดดดดดดดด - ฉันไม่ซื้อขนม หรอก ดดดดข้อสังเกต คำช่วยกริยานี้ สามารถนำออกจากประโยคได้โดยไม่ทำให้ประโยคขาดความสมบูรณ์ แต่อาจขาดความชัดเจน ( เฉพาะในชุด ก ) ดดดดหน้าที่ของคำกริยา คำกริยามีหน้าที่ดังนี้ 1. เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยค ถือเป็นหน้าที่หลักของคำกริยา ประโยคจะมีความสมบูรณ์ได้ต้องมีกริยา การสังเกตว่าข้อความหนึ่งจะมีกี่ประโยคก็ดูจากกริยาเป็นหลัก เช่น ดดดดดด- แม่ ซื้อ ขนมที่แม่ค้า ทำ เองดดดดดร- แม่ ซื้อ ขนมที่ร้านปากซอยหน้าบ้าน ดดดดจะเห็นว่าประโยคข้างต้นมีกริยาไม่เท้ากัน ประโยคที่มีกริยาตัวเดียว เป็นประโยคความเดียว ( ยกเว้นประโยคที่มีสันธานบางคำมาเชื่อม ) แต่ถ้ามีกริยามากกว่าหนึ่งตัว ประโยคนั้นอาจเป็นประโยคความรวม หรือประโยคความซ้อน 2. ทำหน้าที่ขยายนาม เช่น ดดดดดด- คนพิการนั่งรถ เข็น ( เข็น เป็นกริยา ขยาย รถ ) ดดดดดด- คุณรัตนาทำดอกไม้ ประดิษฐ์ ( ประดิษฐ์ เป็นกริยา ขยาย ดอกไม้ ) ดดดดดด- ฉันต้องนั่งเก้าอี้ เสริม ( เสริม เป็นกริยา ขยาย เก้าอี้ ) ดดดดดด- เขาซื้อบ้าน จัดสรร ในซอยนี้ ( จัดสรร เป็นกริยา ขยาย บ้าน ) 3. ทำหน้าที่ขยายกริยา เช่น ดดดดดด- แม่นั่ง มองลูกๆดดดดดดดดดดดดด - คุณตาเดิน ดูต้นไม้ ดดดดดด- ฉันนอน เล่นดดดดดดดดดดดดดดด - เขายืน จับราวบันได 2. ทำหน้าที่ขยายนาม เช่น ดดดดดด- คนพิการนั่งรถ เข็น ( เข็น เป็นกริยา ขยาย รถ ) ดดดดดด- คุณรัตนาทำดอกไม้ ประดิษฐ์ ( ประดิษฐ์ เป็นกริยา ขยาย ดอกไม้ ) ดดดดดด- ฉันต้องนั่งเก้าอี้ เสริม ( เสริม เป็นกริยา ขยาย เก้าอี้ ) ดดดดดด- เขาซื้อบ้าน จัดสรร ในซอยนี้ ( จัดสรร เป็นกริยา ขยาย บ้าน ) 3. ทำหน้าที่ขยายกริยา เช่น ดดดดดด- แม่นั่ง มองลูกๆดดดดดดดดดดดดด - คุณตาเดิน ดูต้นไม้ ดดดดดด- ฉันนอน เล่น ดดดดดดดดดดดดดดด- เขายืน จับราวบันได ดดดดข้อสังเกต 1 ) คำที่พิมพ์ตัวเน้นทุกคำเป็นกริยาที่มาขยายกริยาตัวหน้า 2 ) คำกริยาข้างหน้าต้องเป็นกริยาไม่ต้องมีกรรมมารับเสมอ 3 ) คำกริยาที่มาขยายหากเป็นกริยามีกรรมส่วนขยายจะต้องมาพร้อมกริยาที่ขยายด้วย เช่น มองลูกๆ, ดูต้นไม้, จับราวบันได 4. ) คำขยายกริยา สามารถนำออกจากประโยคได้โดยประโยคยังมีความสมบูรณ์ 4. ทำหน้าที่เหมือนคำนาม กริยาที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม คือ เป็นประธาน หรือเป็นกรรมของประโยค เช่น ดดดดดด- ออกกำลังกาย ทุกวันเป็นสิ่งที่ดี ดดดด- ฉันชอบ เล่นกีฬา ดดดดดด- อ่านหนังสือ ช่วยให้ฉลาดดดดดดดดด - แม่ชอบ ทำกับข้าว ดดดดข้อสังเกต คำกริยาชนิดนี้คือคำกริยาที่ละ การ ไว้ หากเราเติม การ ลงหน้าคำ เป็น การออกกำลังการ คำนั้นจะเป็นนามบอกอาการ เพราะฉะนั้นจึงทำหน้าที่เป็นประธานหรือเป็นกรรมของประโยคได้เหมือนคำนามนั้นเอง ดดดดข้อสังเกต 1 ) คำที่พิมพ์ตัวเน้นทุกคำเป็นกริยาที่มาขยายกริยาตัวหน้า 2 ) คำกริยาข้างหน้าต้องเป็นกริยาไม่ต้องมีกรรมมารับเสมอ 3 ) คำกริยาที่มาขยายหากเป็นกริยามีกรรมส่วนขยายจะต้องมาพร้อมกริยาที่ขยายด้วย เช่น มองลูกๆ, ดูต้นไม้, จับราวบันได 4. ) คำขยายกริยา สามารถนำออกจากประโยคได้โดยประโยคยังมีความสมบูรณ์ 4. ทำหน้าที่เหมือนคำนาม กริยาที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม คือ เป็นประธาน หรือเป็นกรรมของประโยค เช่น ดดดดดด- ออกกำลังกาย ทุกวันเป็นสิ่งที่ดีดดดด - ฉันชอบ เล่นกีฬา ดดดดดด- อ่านหนังสือ ช่วยให้ฉลาด ดดดดดดดร- แม่ชอบ ทำกับข้าว ดดดดข้อสังเกต คำกริยาชนิดนี้คือคำกริยาที่ละ การ ไว้ หากเราเติม การ ลงหน้าคำ เป็น การออกกำลังการ คำนั้นจะเป็นนามบอกอาการ เพราะฉะนั้นจึงทำหน้าที่เป็นประธานหรือเป็นกรรมของประโยคได้เหมือนคำนามนั้นเอง
|