๒๓๒๕ |
กรุงเทพฯ
เป็นราชธานี |
๒๓๔๕ |
เจ้าพระยาพระคลัง(หน)
อำนวยการแปล สามก๊ก |
๒๔๑๕ |
เทียนวรรณเริ่มเขียนบทความ |
๒๔๒๒ |
ก.ศ.ร.
กุหลาบ ตีพิมพ์หนังสือ นิราศยี่สาร |
๒๔๒๘ |
คำกราบบังคมทูลความเห็นจัดการเปลี่ยนแปลงแผ่นดิน
ร.ศ. ๑๐๓ |
๒๔๔๑ |
ก่อตั้งสามัคคีสมาคม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว |
๒๔๕๔ |
กบฎ
ร.ศ. ๑๓๐ |
๒๔๖๑ |
๒๑
กรกฎาคม ดุสิตธานี เมืองประชาธิปไตยทดลอง |
๒๔๖๕ |
ถวัติ
ฤทธิเดช เป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "กรรมกร" |
๒๔๖๘ |
นรินทร์(กลึง)
เรียกร้องให้มีการฟื้นฟูการบวชสามเณรีและภิกษุณีในสยาม |
๒๔๖๙ |
คณะอภิวัฒน์ประชุมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่ Rue de summerard
|
๒๔๗๒ |
ศรีบูรพาก่อตั้งคณะสุภาพบุรุษ
และออกหนังสือสุภาพบุรุษเป็นรายปักษ์
หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง
รพีพัฒน์ เขียน ละครแห่งชีวิต |
๒๔๗๔ |
เสฐียรโกเศศ
และ นาคะประทีป
ตีพิมพ์กามนิต เป็นครั้งแรก |
๒๔๗๕ |
๑๒
พฤษภาคม อินทปัญโญภิกษุก่อตั้งสวนโมกขพลาราม
๒๔
มิถุนายน คณะราษฎร์ยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๑๐
ธันวาคม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานรัฐธรรมนูญ
|
๒๔๗๖ |
สามเณรกรุณา
กุศลาสัย จาริกทางเท้าสู่้อินเดียพร้อมกับพระโลกนาถ
กบฏบวรเดช
๑๕
กันยายน ถวัติ ฤทธิเดช
ยื่นฟ้องคดีอาญาต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ข้อหาหมิ่นประมาท
|
๒๔๗๗ |
๒
มีนาคม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวสละราชสมบัติ
เปิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง |
๒๔๗๙ |
รัฐบุรุษปรีดี
พนมยงค์ก่อตั้งสมาคมนักเรียนไทยในฝรั่งเศส ในพระบรมราชูปถัมภ์
|
๒๔๘๔ |
ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบก
|
๒๔๘๘ |
๑๕
สิงหาคม อเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูถล่มฮิโรชิมาและนางาซากิ
๕
ธันวาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัติประเทศไทย
ระวี
ภาวิไล เป็นอาจารย์มหาิวิทยาลัยเมื่ออายุได้เพียง ๑๙ ปี |
๒๔๘๙ |
๙
มิถุนายน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลสวรรคต |
๒๔๙๐ |
๘
พฤศจิกายน รัฐประหาร |
๒๔๙๒ |
๒๖
กุมภาพันธ์ กบฏวังหลวง นายปรีดี
พนมยงค์ลี้ภัยไปอยู่สาธารณรัฐประชาชนจีน |
๒๔๙๕ |
๑๐
พฤศจิกายน ๒๔๙๕ กบฎสันติภาพ ศรีบูรพาถูกจับ |
๒๔๙๘ |
ก่อตั้งสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย |
๒๔๙๙ |
กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ทรงดำรงตำแหน่งประธานสมัชชาสหประชาชาติ |
๒๕๐๐ |
กำเนิดสมาคมนักเรียนไทยในรัฐเยอรมัน
ในพระบรมราชูปถัมภ์ |
๒๕๐๑ |
จิตร
ภูมิศักดิ์ เขียน "ความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาว และขอม
และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ" |
๒๕๐๒ |
ป๋วย
อึ๊งภากรณ์ ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย |
๒๕๐๕ |
สุลักษณ์
ศิวรักษ์ เป็นบรรณาธิการ "สังคมศาสตร์ปริทัศน์"
นิตยสารรายเดือน |
๒๕๐๔ |
สามเณร
ป.อ. ปยุตโต ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์อุปสมบทเป็นนาคหลวง |
๒๕๑๓ |
เรืองอุไร
- กรุณา กุศลาสัย
เริ่มแปลงานทางภารตวิทยาร่วมกัน |
๒๕๑๕ |
ธีรยุทธ
บุญมี เป็นเลขาธิการสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย |
๒๕๑๖ |
๑๔
ตุลาคม ธีรยุทธ
บุญมี และเสกสรรค์
ประเสิรฐกุล เป็นผู้นำนักศึกษา เรียกร้องรัฐธรรมนูญ
เสน่ห์
จามริก เป็นสมาชิกสภาินิติบัญญัติ |
๒๕๑๘ |
ระพี
สาคริก รับตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
๒๕๑๙ |
ประเวศ
วะสี รับตำแหน่งศาสตราจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช
นิธิ
เอียวศรีวงศ์ เริ่มเขียนหนังสือและบทความ จนถึงปัจจุบันมีงานเขียนกว่า
๒๐๐๐ ชิ้น
๖
ตุลาคม กลุ่มผู้นำนักศึกษา ธงชัย วินิจจะกุล สุรชาติ บำรุงสุข
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ประยูร อัครบวร และสุธรรม แสงประทุม
ถูกจำขัง ป๋วย อึ๊งภากรณ์ต้องลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ |
๒๕๒๓ |
กลุ่มนักศึกษาที่เข้าป่าไปร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ได้ทยอยกันกลับเข้าเมือง |
๒๕๒๖ |
พระไพศาล
วิสาโลเข้าสู่ร่มกาสาวพักตร์ |
๒๕๓๕ |
พฤษภาทมิฬ
ประชาชนรวมตัวกันต่อต้านรัฐบาลเผด็จการทหาร รสช. และเรียกร้องประชาธิปไตย
มีผู้บาดเจ็บล้มตาย รสช. ยอมคืนอำนาจ และออกกฎหมายนิรโทษกรรมตนเอง |
๒๕๓๗ |
พระธรรมปิฎก
(ป.อ. ปยุตโต) ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพจากยูเนสโก |
๒๕๔๕ |
๑๑
กันยายน ผู้ก่อการร้ายจี้เครื่องบินโดยสารพุ่งชนเวิร์ลเทรดเซนเตอร์ |
๒๕๔๗ |
กำเนิดกลุ่มวงล้อ
และกลุ่มสยามเสวนา
๒๘
เมษายน กรณีกรือเซะ เจ้าหน้าที่วิสามัญฆาตกรรมผู้ต้องหามุสลิมที่อยู่ในมัสยิดกรือเซะ
๒๕
พฤศจิกายน กรณีตากใบ ผู้ชุมนุมประท้วงชาวมุสลิมถูกจับ และถูกปฏิบัติอย่างไร้มนุษยธรรมขณะควบคุมตัว
ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก
๒๖
ธันวาคม แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิท่วมชายฝั่งอินโดนีเซีย
ไทย พม่า ศรีลังกา อินเดีย ฯลฯ มีผู้เสียชีวิตกว่าสองแสนราย |