<%@LANGUAGE="JAVASCRIPT" CODEPAGE="1252"%> COPPER
   

 

แหล่งที่มาของข้อมูล

หน้าแรก

วิตามิน

เกลือแร่

เกี่ยวกับเรา

 


เกลือแร่
เกลือแร่หลัก

กำมะถัน

คลอรีน

แคลเซียม

โคบอลต์

ซิลิคอน

โซเดียม

โปตัสเซียม

ฟอสฟอรัส

แมกนีเซียม

แมงกานีส

เหล็ก

ไอโอดีน

เกลือแร่ส่วนน้อย

โครเมียม

ซีลีเนียม

ทองแดง

นิกเกิล

โบรมีน

โบรอน

ฟลูออรีน

โมลิบดินัม

วานาเดียม

สตรอนเทียม

สังกะสี

อะลูมิเนียม

 

ทองแดง
(COPPER)

 

 

เนื้อหาโดยย่อ    ทองแดง (copper) เป็นสารอาหารที่สำคัญอีกตัวหนึ่ง เนื่องจากเป็นส่วนประกอบในเอนไซม์หลายตัวในร่างกาย เช่น การสร้างพลัง งานให้แก่ร่างกาย การกำจัดอนุมูลอิสระ การสร้างความยืดหยุ่นกับผิวหนัง (Collagen และ Elastin) การสร้างสีผิวให้คล้ำเพื่อป้องกันแสง แดด การสร้างสีตา และสีผม เป็นต้น ร่างกายคนมีทองแดงประมาณ 75-150 มิลลิกรัม ทองแดงส่วนใหญ่อยู่ในตับ สมอง หัวใจ และไต ส่วนน้อยอยู่ในม้ามและไขกระดูก ถึงแม้ทองแดงจะไม่ใช่ส่วนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแต่ก็เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี (Catalyst) ในการสร้างฮีโมโกลบิน ดังนั้น จึงถือ ว่าเป็นสารจำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดงเช่นเดียวกับเหล็ก นอกจากนี้มีผู้พบว่าทองแดงช่วยให้เหล็กดูดซึม ดีขึ้น เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับระบบการหายใจหรือปฏิกิริยาการใช้ออกซิเจนในร่างกาย เช่น Cytochrome oxidase, Ascosbic acid oxidase และอื่น ๆ แหล่งอาหาร อาหารที่มีเหล็กพอจะมีทองแดงเพียงพอ ในวันหนึ่ง ๆ เรากินอาหารมีทองแดงประมาณคนละ 2-5 มิลลิกรัม แหล่งอาหารที่มีทอง แดงมากที่สุดคือหอยนางรมและหอยต่าง ๆ นอกจากนี้ยังพบใน nuts เมล็ดข้าวและเมล็ดพืชต่าง ๆ ปลา เนื้อสัตว์ ผลไม้ ผักต่างๆ ในเมล็ดข้าว จะพบในส่วนของรำข้าว และจมูกข้าว ดังนั้นการขัดสีข้าวจึงเป็นการกำจัดทองแดงออกไปเช่นกัน รวมทั้งนมมารดาที่มีทองแดงสูงกว่านมวัว เหล็ก และสังกะสีที่บริโภคมากเกินไปยับยั้งการดูดซึมทองแดงได้ การขาดทองแดง ก่อให้เกิดภาวะซีดจากโลหิตจาง เม็ดเลือดขาวมีมากเม็ดเลือดแดงลดลง โคลเรสเตอรอลในเลือดสูงและการเต้นของ หัวใจผิดปกติ การเป็นพิษจากการบริโภคเกินความต้องการของร่างกายยังไม่พบ
 
เนื้อหา   

  • ข้อมูลทั่วไป
  • ประโยชน์ต่อร่างกาย
  • แหล่งที่พบ
  • ปริมาณที่แนะนำ
  • ผลของการขาด
  • ผลของการได้รับมากไป
  • ข้อมูลอื่นๆ
 
 
กลับด้านบน
Copyright © All rights reserved.